เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
KM Learning Power ครั้งที่ 3
รุ่งเรือง สิทธิจันทร์ ประธานคณะทำงานฯ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้
ชุมนุม YC.
ชุมนุม YC.
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
Good Governance :GG.
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
การติดตามผลการดำเนินงาน UC/TDC/Reference Database
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล และทีมงานคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
หลักการเขียนโครงการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ The Library Network in the Northeast Thailand ไชยวัฒน์ วงค์สุวรรณ์ สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ ชนัญชิดา สุวรรณเลิศ วิราวรรณ ศิริวงษ์ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

การใช้ทรัพยากร แหล่งข้อมูล ? วัด ทำไมต้องสนใจ วิสัยทัศน์ การใช้ทรัพยากร แหล่งข้อมูล โรงเรียน มหาวิทยาลัย

? ทำแล้วแก้ปัญหาอะไร ประหยัดงบประมาณ - Server - จัดซื้อ เชื่อมโยงเครือข่าย การลงรายการซ้ำซ้อนกัน การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างเครือข่ายห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) เพื่อใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดร่วมกัน

ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ การวิจัยครั้งนี้เริ่มโครงการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 สิ้นสุดโครงการเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 วิเคราะห์ปัญหา ประชุมวางแผน ออกแบบระบบจัดเก็บข้อมูล ฝึกอบรม เชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายสารสนเทศ

ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ 6. เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ 9 ด้าน ดังนี้ 6.1 ด้านเนื้อหาสาระของการอบรมตรงกับความต้องการ 6.2 วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา 6.3 ในภาพรวมของการอบรมท่านมีความพึงพอใจ 6.4 รูปแบบการอบรมมีความเหมาะสม 6.4 ห้องอบรมและอุปกรณ์มีความเหมาะสม 6.5 หลังการอบรมท่านได้รับความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น 6.6 เอกสารประกอบการอบรมมีความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหา 6.7 ท่านสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ปฏิบัติงานจริงได้ 6.8 ระยะเวลาของการจัดอบรมมีความเหมาะสม 6.9 ก่อนรับการอบรมท่านมีความรู้ความเข้าใจในเครือข่าย สารสนเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยมีหน่วยงานทั้งหมด 87 แห่ง จำนวน 151 คน ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนประจำจังหวัดและอำเภอ 53 แห่ง จำนวน 98 คน โรงพยาบาล 7 แห่ง จำนวน 12 คน ห้องสมุดประชาชน 9 แห่ง จำนวน 9 คน มหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน 18 แห่ง จำนวน 32 คน ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 7. การวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สรุปผลงานวิจัย ผู้เข้าร่วมประชุมและฝึกอบรมเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีความพร้อมในการเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศ ห้องสมุด จำนวน 46 แห่ง มีความพึงพอใจในเครือข่ายสารสนเทศโดยรวม ทุกด้านในระดับมาก และมีการเชื่อมโยงมวลทรัพยากรสารสนเทศใน เครือข่าย จำนวน 901,546 รายการ โดยใช้โปรแกรมระบบห้องสมุด อัตโนมัติ ULibM จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ เน้นการใช้ทรัพยากร สารสนเทศร่วมกันในเครือข่าย โดยนำหลักการ Cloud Computing ของมหาวิทยาลัยมหาสารคามร่วมกัน และจัดตั้งเครือข่ายในการให้ความ ช่วยเหลือด้านการติดตั้งระบบ การดูแลในเบื้องต้น จนเป็นเครือข่าย สารสนเทศห้องสมุดที่สมบูรณ์

มีมวลทรัพยากร 901,546 รายการ Single search ปัจจุบัน 309,970 รายการ

ข้อเสนอแนะ ควรศึกษาการสร้างเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดให้เข้มแข็งและครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศและเกิดเป็นรูปธรรม ควรหาแนวทางในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกัน ควรมีการติดตามดำเนินงานห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และให้ความช่วยเหลือเสมือนพี่ช่วยน้อง (Joint Use Library)

ข้อเสนอแนะ 4) ในอนาคตควรจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานความร่วมมือกัน ของเครือข่ายสมาชิกเครือข่ายในรูปแบบ MOU 5) ควรศึกษาและพัฒนานำไปสู่การจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรม เสมือนแห่งชาติ (Virtual Union Catalogue)

การนำไปใช้ประโยชน์ 1) สร้างเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดให้เข้มแข็งและครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศและเกิดเป็นรูปธรรม

การนำไปใช้ประโยชน์ 2) ให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกัน

ULibM. (Cloud Computing) Lib. A Lib. J Lib. B Lib. I ULibM. Lib. C Lib. H Lib. G Lib. D Lib. E Lib. F ULibM. (Cloud Computing)

จบการนำเสนอ ขอบพระคุณครับ จบการนำเสนอ ขอบพระคุณครับ Chavarit.w@msu.ac.th

ขอบคุณค่ะ ... Chavarit.w@msu.ac.th