งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API
นายสุขสันต์ พรมบุญเรือง สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

3 หลักการและเหตุผล ต้องเดินหาไปเรื่อยๆ ? โทรถามเพื่อน ?
สอบถามบรรณารักษ์ ? ไม่รู้สถานที่ ?

4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

5 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาห้องสมุดเสมือน 3 มิติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการใช้งานห้องสมุดเสมือน 3 มิติ ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กิตติมศักดิ์ ในจิต (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนออนไลน์เพื่อการสืบค้นสื่อประสมและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อสร้างระบบห้องสมุดเสมือนออนไลน์เพื่อการสืบค้นสื่อประสมและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สรุปได้ว่าระบบที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ดี สามารถใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการสอนได้ ศานติ เจริญวงศ์ (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสานในรูปแบบ 3 มิติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสานในรูปแบบ 3 มิติ 2) เพื่อประเมินคุณภาพเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสาน 3 มิติ 3) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเรือนไทยอีสานและวิธีชีวิตคนอีสาน Gerard Salton Professor PhD Harvard University “Salton, Gerard. Introduction to Modern Information Retrieval. McGraw-Hill, 1983.”

8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อนิรุทธิ์ โชติถนอม (2548 : บทคัดย่อ) ได้ทำการศึกษาเว็บเพจแนะนำมหาวิทยาลัยมหาสารคามในรูปแบบ 3 มิติขั้นพื้นฐาน เช่น กล่องสี่เหลี่ยม ทรงกลม ทรงกระบอกมาประกอบกันให้เป็นแบบจำลอง 3 มิติ ของอาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัย Enji Sun และคณะ (2009) ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการติดตามการดำเนินงานในการทำเหมืองแร่โดยใช้ Google Earth 3D ในการจำลองภาพเสมือนสามมิติ ซึ่งสามารถระบุพิกัดและสามารถติดตามในเวลาจิรงได้และสามารถเพิ่มความน่าเชื่อถือและลดความไม่แน่นอนในการดำเนินการทำพื้นผิวเหมืองแร่ทำให้สามารถเตือนอัตรายจากการทำงานและเห็นเส้นทางในการหลีกเลี่ยงอันตรายได้ Gerard Salton Professor PhD Harvard University “Salton, Gerard. Introduction to Modern Information Retrieval. McGraw-Hill, 1983.”

9 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5. Haifeng Huang (2011 : ieee) ได้ศึกษาเพื่อพัฒนาระบบดิจิตอลสามมิตินำเสนอการท่องเที่ยวโดยใช้ Google Earth API ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ในโลกเสมือนดิจิตอลและแพลตฟอร์ม Google Earth (GE) ได้รับการใช้กันอย่างแพร่หลายในด้านต่างๆรวมถึงการท่องเที่ยวในรูปแบบดิจิตอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดตัวของปลั๊กอิน GE Plug-in และ API ที่ทำให้เป็นไปได้ที่จะสร้างความซับซ้อนในการใช้งานแผนที่เว็บ 3D Gerard Salton Professor PhD Harvard University “Salton, Gerard. Introduction to Modern Information Retrieval. McGraw-Hill, 1983.”

10 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

11 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 1 สำรวจโครงสร้างภายในอาคารสำนักวิทยบริการตามแผนผังชั้น 3 โดยปรึกษาจากผู้บริหาร บุคลากรสำนักวิทยบริการ เจ้าหน้าที่งานบริการและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกส่วน

12 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 1 สำรวจโครงสร้างภายในอาคารสำนักวิทยบริการ แล้วสร้างโมเดลสามมิติโดยใช้โปรแกรม Google Sketch up

13 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 1 ทำการศึกษา Google Earth API สำหรับแสดงโมเดลสามมิติบนเว็บไซต์จากนั้นใช้ภาษา Java script ทำการควบคุมการเหตุการณ์ที่ผู้ใช้สืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

14 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 2 ทำการออกแบบจำลองโมเดล 3 มิติเรียบร้อยแล้ว จากนั้นจัดเก็บข้อมูล Bookmark ที่ได้จากการสำรวจโดยใช้โปรแกรม Google Earth บนพีซีดังภาพประกอบ

15 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 3 นำแบบจำลอง 3 มิติเข้าสู่เว็บเพจ ดังภาพ

16 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบหน้าเว็บเพจสำหรับการแสดงผลโดย ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวน 2 ท่าน ได้แก่ 1) นายสมพงษ์ เจริญศิริ รองผู้อำนวยการฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) นางจีรกาญจน์ เต็มพรสิน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อโสตทัศน์จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ 1) นายอารยะ เสนาคุณ นักวิชาการโสตทัศน์ชำนาญการพิเศษ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

17 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 4 (ต่อ) เครื่องมือในการเก็บรวบรวม ได้แก่ แบบสอบถามประมาณค่า (Rating scale) จำนวน 2 ฉบับ ฉบับแรกสำหรับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 ข้อ ฉบับที่สองสำหรับ ผู้ใช้บริการ จำนวน 10 ข้อ จากนั้นผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้ผู้เชี่ยวชาญทดลองใช้ระบบ

18 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 5 ดำเนินการติดตั้งเพื่อใช้งานออนไลน์ที่ และสามารถเชื่อมโยงกับ Web Opac ได้ ดังภาพ

19 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบระบบจากผู้ใช้บริการที่มาเข้าในสำนักวิทยบริการของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 300 คน ผู้ปฏิบัติงานจำนวน 30 คนโดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงในการทดสอบกับแบบประเมิน ขั้นตอนที่ 7 การประเมินผลระบบโดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองระหว่างวันที่ 1-30 ตุลาคม 2556 จากนั้นนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

20 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

21 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ระบบปฏิบัติการ Windows 7
โปรแกรม Apache สำหรับจำลองเครื่องแม่ข่าย โปรแกรม Macromedia DreamweaverCS6 4) โปรแกรม Google Earth 5) โปรแกรม Google Sketchup

22 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้
หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำเสนอขั้นตอนวิธี เครื่องมือที่ใช้ สรุปผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะ

23 สรุปผลการวิจัย การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนสามมิติโดยใช้ Google API สามารถจำลองสภาพแวดล้อมของตำแหน่งสารสนเทศชั้น 3 สำนักวิทยบริการ(A) มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นตำแหน่งสารสนเทศด้วยเลขเรียกหนังสือได้ ระบบสามารถเชื่อมโยงกับเว็บสืบค้น Web Opac ปัจจุบันได้ระบบจะเพิ่มเมนู Go to SHELF ในแต่ละรายการที่ผู้ใช้สืบค้นจาก Web Opac สามารถบ่งชี้ไปยังตำแหน่งของสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมทั้งอำนวยความสะดวกผู้ใช้บริการที่ไม่คุ้นเคยกับสำนักวิทยบริการและสามารถทราบถึงบริการที่มีต่างๆได้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผู้ปฏิบัติงานได้ประเมินผลอยู่ในระดับมากที่สุด

24 ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มความสามารถในการปรับเปลี่ยนตำแหน่งสถานที่ของสารสนเทศได้ในอนาคต พัฒนาระบบให้ครอบคลุมทุกส่วนบริการภายในสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อให้เสมือนจริงมากยิ่งขึ้น

25 การนำไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถประยุกต์ใช้ในการนำพาไปยังตำแหน่งจัดเก็บสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถประยุกต์เพิ่มสื่อได้หลากหลายประเภทเพื่อแนะนำสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัยได้อย่างน่าสนใจ

26 การนำไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถบ่งชี้พิกัดตำแหน่งที่จัดเก็บสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถประยุกต์ใช้เพื่อประชาสัมพันธ์บริการสารสนเทศที่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัยได้

27 วีดีโอสาธิตการใช้งาน

28 จบการนำเสนอ ขอบพระคุณครับ
จบการนำเสนอ ขอบพระคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google