Basic Graphics 360107 by uddee
ทำความรู้จักกับอุปกรณ์ -กระดานรองเขียนแบบ -ไม้ที -ไม้ทีปรับองศา -ไม้ฉาก60,30องศา -ฉากปรับมุม -ไม้บรรทัดเสกล -ไม้บรรทัด -ชุดวงเวียน -ฯลฯ
ทำความรู้จักกับอุปกรณ์ -กระดานรองเขียนแบบ -ไม้ที -ไม้ทีปรับองศา -ไม้ฉาก60,30องศา -ฉากปรับมุม -ไม้บรรทัดเสกล -ไม้บรรทัด -ชุดวงเวียน -ฯลฯ
-โต๊ะเขียนแบบ -กระดานติดทีสไลด์
ขนาด เอ 4 (21 คูณ 29.5เซนติเมตรโดยประมาณ) ขนาดกระดาษแบบต่างๆทีนิยมใช้ในการเขียน ขนาด เอ 4 (21 คูณ 29.5เซนติเมตรโดยประมาณ) ขนาด เอ 3 (42 คูณ 29.5เซนติเมตรโดยประมาณ) ขนาด เอ 2 (59 คูณ 42 เซนติเมตรโดยประมาณ) ขนาด เอ 1 (84 คูณ 59 เซนติเมตรโดยประมาณ) ขนาด เอ 0 (118 คูณ 84 เซนติเมตรโดยประมาณ)
1.การเขียนเส้นแบบต่างๆน้ำหนักต่างๆ เส้นประ เส้นร่าง เส้นจริง เส้นเน้น
ตัวอย่าง -การหัดเขียนพวกคน,รถ,ต้นไม้ต่างๆ -ควรฝึกวาดเขียน,วาดเส้นควบคู่กันไปด้วยเพื่อหัดถ่ายทอดความคิดของตนลงเป็นภาพได้ ตัวอย่าง -การหัดเขียนพวกคน,รถ,ต้นไม้ต่างๆ -การหัดเขียนของใกล้ๆตัวเช่นของ ประดับ,ของตกแต่งฯลฯ -เขียนให้คุ้นเคยและบ่อยๆ
ตัวอย่าง -อาจดูตัวอย่างจากในหนังสือ,นิตยสาร -การเริมต้นเขียนอาจเริ่มจากการ คัดลอกภาพด้วยเทคนิคต่างๆเช่นสำเนาเอกสารแล้วใช้กระดาษลอกลาย,แล้วค่อยๆพัฒนาเป็นการเขียนตามแบบในภายหลัง -โดยควรเริมจากภาพที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก
-การฝึกหัดควรร่างภาพเป็นรูปทรงเรขาคณิตแล้วจึงค่อยดัดแปลง
ตัวอย่าง -ผลงานของนักศึกษาวิชาวาดเส้น
2.การเขียนรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิตต่างๆโดยการร่างแบบไม่ใช้เครื่องมือ การขีดเขียนเส้นแบบอิสระ (FREEHAND) -จากบนลงล่าง -จากซ้ายไปขวา -กระจายออกจากจุดศูนย์กลาง -ให้ขีดเส้นโดยเริ่มลงน้ำหนักขึ้นต้นและจบในเส้น อย่างสม่ำเสมอและต่อเส้นกันเป็นช่วงๆ
ตัวอย่างสำหรับฝึกหัด
การเขียนรูปร่างและรูปทรงเรขาคณิต -หัดเขียนบ่อยๆทั้งรูปร่างรูปทรงต่างๆเพื่อให้ คุ้นเคย -หัดใช้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยในการเขียนโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ -ให้เข้าใจพื้นฐานโดยการฝึกหัด โดยอาจเริ่มจากการหัดเสก็ตซ์เองก่อน -หรือคิดหัวข้อของสิ่งที่จะวาดก่อนก็ได้ โดยตั้งเป้าหมายเอาไว้ ในเรื่องต่างๆกันเช่นฝึกเพื่อให้คุ้นมือหรือให้เขียนได้แม่นยำขึ้นหรือให้ส่วนสัดของรูปร่างรูปทรงผิดเพี้ยนน้อยลงๆ
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง