ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
Distributed Administration
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
The Development of Document Management System with RDF
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
Information System and Technology
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ซอฟต์แวร์.
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Databases Design Methodology
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 2 Database systems Architecture
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กระบวนการสอบถามข้อมูล
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
ความต้องการเชิงคุณภาพ (Qualitative Requirements)
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
หลักการแก้ปัญหา.
กระบวนการทำงานและบุคลากร
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล.
Introduction to Database
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร และความต้องการของลูกค้า Mark Twin การเก็บข้อมูลไม่เป็นระบบ ก็เหมือนกับการเก็บขยะไว้ ความสามารถในการจัดการข้อมูล เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้เราสามารถนำข้อมูลออกมาใช้ประโยชน์ได้

การรวบรวมและจัดระเบียนข้อมูลในสมัยแรก ข้อมูลไม่มาก สามารถเก็บในแฟ้มเอกสารได้ เมื่อองค์การขยายใหญ่ขึ้น ทำให้ข้อมูลมาก มีความซับซ้อน และผู้บริหารต้องการข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ทำให้ต้องใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย และในที่สุดจะเกิดเป็นระบบสารสนเทศ การจัดเก็บข้อมูลมี 2 ประเภท การจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับ การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

ฐานข้อมูล การจะได้มาซึ่งระบบสารสนเทศที่ดีนั้น จะต้องมีฐานข้อมูลที่ดีก่อน ฐานข้อมูลหมายถึง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้ใช้ใดๆ สามารถเรียกใช้ร่วมกันได้ตามต้องการ ข้อมูลที่เก็บไว้ในฐานข้อมูลจะต้องเป็นระบบ และไม่ซ้ำซ้อนกัน การใช้ระบบสารสนเทศมาใช้ในการจัดการฐานข้อมูลต้องคำนึ่งถึง แฟ้มข้อมูลย่อย แฟ้มข้อมูลสำรอง การเข้าถึงข้อมูลแบบแนวดิ่ง และแบบระดับ

logical structure and physical structure physical structure เป็นโครงสร้างที่แท้จริง ซึ่งผู้เกี่ยวข้อง คือ programmer, network administrator และ system administrator

logical structure

ชนิดความสัมพันธ์ของข้อมูล 1. 1:1 2. 1:M

ชนิดความสัมพันธ์ของข้อมูล (ต่อ) 3. M:1 4. M:N

โครงสร้างข้อมูล แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์

แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น

แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย

แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์

ระบบการจัดการฐานข้อมูล หมายถึงชุดคำสั่งซึ่งทำหน้าที่สร้าง ควบคุม และดูแลระบบฐานข้อมูล เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล คัดเลือกข้อมูลและสามารถนำข้อมูลนั้นมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล ภาษาสำหรับการใช้ข้อมูล พจนานุกรมข้อมูล

User and Database Database structure Customer Inventory DBMS Invoice Application request Inventory Data DBMS user Invoice Data Products Application request user

หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล 1. ประสานกับผู้จัดการแฟ้มข้อมูล (file manager) ในการจัดเก็บ เรียกใช้ และแก้ไขข้อมูล 2. ควบคุมความสมบูรณ์แน่นอนของข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับการใช้งานตลอดเวลา 3. ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลมิให้ถูกจารกรรม ก่อการร้าย สูญหาย หรือถูก ทำลายโดยไม่ตั้งใจ 4. ดูแลรักษาข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม ตลอดจนสร้างระบบข้อมูลสำรองขึ้นเพื่อ ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากความผิดพลาด อุบัติเหตุ หรือการกระทำที่ จงใจ 5. ควบคุมความต่อเนื่องและลำดับในการทำงานที่เหมาะสม เพื่อให้การใช้งานสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง