ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร และความต้องการของลูกค้า Mark Twin การเก็บข้อมูลไม่เป็นระบบ ก็เหมือนกับการเก็บขยะไว้ ความสามารถในการจัดการข้อมูล เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้เราสามารถนำข้อมูลออกมาใช้ประโยชน์ได้
การรวบรวมและจัดระเบียนข้อมูลในสมัยแรก ข้อมูลไม่มาก สามารถเก็บในแฟ้มเอกสารได้ เมื่อองค์การขยายใหญ่ขึ้น ทำให้ข้อมูลมาก มีความซับซ้อน และผู้บริหารต้องการข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ทำให้ต้องใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย และในที่สุดจะเกิดเป็นระบบสารสนเทศ การจัดเก็บข้อมูลมี 2 ประเภท การจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับ การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ฐานข้อมูล การจะได้มาซึ่งระบบสารสนเทศที่ดีนั้น จะต้องมีฐานข้อมูลที่ดีก่อน ฐานข้อมูลหมายถึง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้ใช้ใดๆ สามารถเรียกใช้ร่วมกันได้ตามต้องการ ข้อมูลที่เก็บไว้ในฐานข้อมูลจะต้องเป็นระบบ และไม่ซ้ำซ้อนกัน การใช้ระบบสารสนเทศมาใช้ในการจัดการฐานข้อมูลต้องคำนึ่งถึง แฟ้มข้อมูลย่อย แฟ้มข้อมูลสำรอง การเข้าถึงข้อมูลแบบแนวดิ่ง และแบบระดับ
logical structure and physical structure physical structure เป็นโครงสร้างที่แท้จริง ซึ่งผู้เกี่ยวข้อง คือ programmer, network administrator และ system administrator
logical structure
ชนิดความสัมพันธ์ของข้อมูล 1. 1:1 2. 1:M
ชนิดความสัมพันธ์ของข้อมูล (ต่อ) 3. M:1 4. M:N
โครงสร้างข้อมูล แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น
แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย
แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบการจัดการฐานข้อมูล หมายถึงชุดคำสั่งซึ่งทำหน้าที่สร้าง ควบคุม และดูแลระบบฐานข้อมูล เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล คัดเลือกข้อมูลและสามารถนำข้อมูลนั้นมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล ภาษาสำหรับการใช้ข้อมูล พจนานุกรมข้อมูล
User and Database Database structure Customer Inventory DBMS Invoice Application request Inventory Data DBMS user Invoice Data Products Application request user
หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล 1. ประสานกับผู้จัดการแฟ้มข้อมูล (file manager) ในการจัดเก็บ เรียกใช้ และแก้ไขข้อมูล 2. ควบคุมความสมบูรณ์แน่นอนของข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับการใช้งานตลอดเวลา 3. ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลมิให้ถูกจารกรรม ก่อการร้าย สูญหาย หรือถูก ทำลายโดยไม่ตั้งใจ 4. ดูแลรักษาข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม ตลอดจนสร้างระบบข้อมูลสำรองขึ้นเพื่อ ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากความผิดพลาด อุบัติเหตุ หรือการกระทำที่ จงใจ 5. ควบคุมความต่อเนื่องและลำดับในการทำงานที่เหมาะสม เพื่อให้การใช้งานสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง