จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
CMS กับการบริหารจัดการเว็บไซต์ห้องสมุด นำเสนอในการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 2 “ห้องสมุดกับสังคมแห่งการเรียนรู้” ณ สุรสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
โครงการอ่านและบันทึกหนังสือเสียง ให้แก่ผู้พิการทางสายตา
Management Information Systems
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
1 การเสนอโครงการภายใต้ กรอบความร่วมมือเอเปค สำนักความร่วมมือการลงทุน ต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
ฐานข้อมูล Science Direct
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนองาน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การเขียนรายงาน.
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ โดย นันทพร ธนะกูลบริภัณฑ์ พัชรี ทองแขก สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใน การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2555 เรื่อง “Creative Library” วันที่ 27 มกราคม 2555 เวลา 11.30-11.50 น. ณ ห้องสุรนารี สุรสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ. นครราชสีมา

ผู้รับผิดชอบ สำนักบรรณสารสนเทศ มสธ. โครงการพัฒนาระบบสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ผู้รับผิดชอบ สำนักบรรณสารสนเทศ มสธ. วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาระบบสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ - เพื่อสร้างต้นแบบหรือแนวทางที่ดีขึ้นในการจัดการ เอกสารจดหมายเหตุ โดยเชื่อมโยงเข้ากับกระบวนงาน หลักของห้องสมุด - เพื่อบูรณาการแหล่งสืบค้นสารสนเทศต่างๆ รวมทั้ง เอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเดียว ช่วยให้ การสืบค้นทำได้สะดวก รวดเร็ว

หลักการ มหาวิทยาลัย ในรูปของรายการทรัพยากรสารสนเทศแบบออนไลน์ - จัดทำและให้บริการเครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย ในรูปของรายการทรัพยากรสารสนเทศแบบออนไลน์ หรือโอแพ็ก (OPAC - Online Public Access Catalog) - ใช้มาตรฐานในการพรรณนาลักษณะของเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย ISAD (G) – International Standard Archival Description (General) - หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม (AACR2R) - ใช้มาตรฐานการเข้ารหัสระเบียนรายการเอกสารดังกล่าว ด้วย รูปแบบการลงรายการที่เครื่องอ่านได้รูปแบบมาร์ค (MARC format)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ การดำเนินงาน แบ่งได้เป็น 2 ส่วนหลัก คือ 1. การจัดการตัวเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย 2. การพรรณนารายการเอกสารจดหมายเหตุ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ วิธีการดำเนินการ แบ่งได้เป็น 2 ส่วนหลัก คือ 1. การจัดการตัวเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัย 1.1 คัดเลือกประเภทเอกสารจดหมายเหตุที่จะทำรายการ ในระยะแรก เอกสารที่เลือกดำเนินการก่อน คือ - เอกสารการประชุม - เอกสารบันทึกความร่วมมือ/ข้อตกลงความร่วมมือ ของมสธ. กับหน่วยงานอื่น เนื่องจากมีสถิติการขอใช้บริการเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่องและมีเนื้อหาสะท้อนลักษณะงานของทุกฝ่ายในมหาวิทยาลัย รวมทั้งความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ (ต่อ) 1.2 จัดเรียงกลุ่มเอกสารตามหลักวิชาการจดหมายเหตุ กล่าวคือเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยทั้งหมด จัดเป็น Collection เอกสารการประชุม คณะกรรมการต่างๆ ของมหาวิทยาลัยจัดเป็น Group/Fonds 1.3 กำหนดตำแหน่งที่อยู่ของแต่ละกลุ่มเอกสาร เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ (ต่อ) 2. การพรรณนารายการเอกสารจดหมายเหตุฯ 2.1 ศึกษาธรรมชาติของเอกสารจดหมายเหตุฯ ที่มี ลักษณะและคุณสมบัติที่แตกต่างจากทรัพยากร สารสนเทศประเภทอื่นของห้องสมุด อาทิ ต่างจากหนังสือที่ แต่ละชื่อสามารถแยกเป็นอิสระ จบสมบูรณ์ในตัว แต่เอกสาร จดหมายเหตุฯ อาจมีหลายชิ้นหลายชื่อที่มีความเกี่ยวโยง สัมพันธ์ในเรื่องเดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ สิ่งที่ศึกษา เช่น แหล่งกำเนิด การได้มา การจัดเอกสารของต้นแหล่ง ฯลฯ เพื่อ กำหนดโครงสร้างข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการพรรณนา 2.2 ศึกษาหลักเกณฑ์ AACR2R เพื่อลงรายการเอกสาร จดหมายเหตุ 2.3 ศึกษามาตรฐานสากล ISAD (G) เพื่อพรรณนาเอกสาร จดหมายเหตุฯ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ (ต่อ) 2.4 ศึกษารูปแบบการลงรายการที่เครื่องอ่านได้ รูปแบบ ทรัพยากรฯ ประเภทวัสดุผสมหลายสื่อ (Mixed materials) ประเภทเอกสารจดหมายเหตุและต้นฉบับ ตัวเขียน 2.5 ศึกษาตำแหน่งข้อมูล เขตข้อมูลที่จำเป็น และจัดทำ โครงสร้างข้อมูลในการลงรายการเอกสารประเภท ดังกล่าว ตามรูปแบบมาร์ค 21

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 2.6 สำรวจตรวจสอบเอกสาร (examine) และลงรายการ พรรณนาในแบบฟอร์มลงรายการเอกสารจดหมายเหตุ (STOUAMCCAT WORKSHEET) ในรูประเบียนรายการ ตามโครงสร้างรูปแบบมาร์ค21 สำหรับสารสนเทศแบบสือ ผสมหลายรูปแบบ (Mixed materials) 2.7 นำเข้าระเบียนรายการตามโครงสร้างรูปแบบมาร์ค ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ VTLS Virtua

ตัวอย่าง ผลการค้นด้วยชื่อเรื่อง จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ตัวอย่าง ผลการค้นด้วยชื่อเรื่อง จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ผลการการดำเนินงาน 1.1 ได้โครงสร้างข้อมูลสำหรับระเบียนรายการเอกสาร 1. เชิงปริมาณ: 1.1 ได้โครงสร้างข้อมูลสำหรับระเบียนรายการเอกสาร จดหมายเหตุมหาวิทยาลัย ประเภทเอกสาร การประชุมและเอกสารข้อตกลงความร่วมมือ จำนวน 1 โครงสร้าง 1.2 ได้จำนวนระเบียนรายการเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยประเภทเอกสารการประชุม และเอกสาร ข้อตกลงความร่วมมือในฐานข้อมูลระบบอัตโนมัติ VTLS Virtua จำนวนหนึ่ง 2. เชิงคุณภาพ: สามารถพัฒนาระบบสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติได้

สรุปและอภิปรายผล ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในระยะแรกนี้ ทำให้เกิดผล ดังนี้ การพัฒนาระบบสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยใน ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในระยะแรกนี้ ทำให้เกิดผล ดังนี้ - ทำให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุทาง อิเล็กทรอนิกส์ได้สะดวก รวดเร็ว - สำนักได้ต้นแบบระบบสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุทาง อิเล็กทรอนิกส์ เป็นแนวทางสำหรับการพัฒนาการสืบค้น เอกสารจดหมายเหตุกลุ่มอื่นๆ ต่อไป - สำนักได้แนวทางที่ดีขึ้นในการจัดการเอกสาร จดหมายเหตุฯ ที่เชื่อมโยงเข้ากับกระบวนงานหลักของ ห้องสมุด จากเดิมที่มุ่งเพียงจัดการเอกสารจดหมายเหตุ แยกจากกระบวนงานหลัก รวมทั้งการสร้างเครื่องมือช่วย ค้นเอกสารจดหมายเหตุที่ เป็นระบบระเบียบมากขึ้น

ขอบคุณค่ะ คำถาม???? ข้อคิดเห็น