การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
วิจัยสถาบัน...เรื่องไม่ง่ายแต่ทายท้า
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
NU. Library Online Purchasing System
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
แอนดรอยด์และไอโอเอสแอปพลิเคชัน สำหรับวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ Android and IOS Applications for CMU e-Theses and CMU e-Research.
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Management Information Systems
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
วิเคราะห์และสร้างสรรค์สารสนเทศ (Information Analysis and Creativity)
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
OPAC (Online Public Access Catalog)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
WEB OPAC.
ก ารพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ Development to excellence of Technical information division working group.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
รายงานความก้าวหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศ
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ สำหรับห้องอ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม The Development of Library Automation for Connection and Services in Reading Room at Mahasarakham University Faculty สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ห้องอ่าน / ห้องสมุดคณะและหน่วยงานต่างๆ

Insert Title Text

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติในการเชื่อมโยงและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับห้อง อ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. เพื่อลดงบประมาณจากความซ้ำซ้อนในการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ 3. เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดร่วมกันของทุกคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาจากเอกสารและงานวิจัยของสำนักวิทยบริการ โดยการศึกษาจากตำรา วารสาร เอกสารรายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดคณะ เพื่อศึกษาหาแนวคิด ทฤษฎีและนำผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติต่อไป ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฐานข้อมูล การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับห้องอ่านคณะ/สถาบัน/สำนัก/กอง ประกอบด้วย * โปรแกรมระบบฐานข้อมูลใช้ มายเอสคิวแอล (MySQL) * โปรแกรมที่ใช้ในการเขียนเว็บเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลใช้ ภาษาพีเอชพี (PHP) * ระบบปฏิบัติการใช้ ลีนุกซ์ (Linux) ฝึกอบรมการบันทึกรายการทรัพยากรสารสนเทศเข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนาขึ้น ให้กับผู้ดำเนินงานห้องสมุดจากคณะ/หน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 22 หน่วยงาน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และเดือนกุมภาพันธ์ 2554 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ จำนวนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดทุกหน่วยงาน แยกตามหน่วยงาน จำนวนความซ้ำซ้อน ค่าร้อยละของทรัพยากรแต่ละหน่วยงาน จำนวนเงินโดย ประมาณที่เกิดจากความซ้ำซ้อนของทรัพยากร

Cloud Computing

Cloud Computing

สถาบันที่มีข้อมูลสูงสุด 5 อันดับแรก ความซ้ำซ้อนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดมีจำนวน 16,475 รายการ คิดเป็นร้อยละ 6.69 ของมวลทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมด จำนวนเงินที่เกิดจากความซ้ำซ้อนของทรัพยากรสารสนเทศโดยประมาณ 16,526,881 บาท

ระบบการทำงาน เจ้าหน้าที่คณะ/หน่วยงานปฏิบัติงานบันทึกรายการบรรณานุกรมหนังสือ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และหน้าจอสืบค้นของแต่ละหนวยงาน

ระบบการทำงาน ตัวอย่างผลการสืบค้น

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล ระบบการทำงาน ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล

ระบบการทำงาน หน้าจอฐานข้อมูลกลาง

ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ระบบการทำงาน ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง

ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ระบบการทำงาน ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ข้อมูลเชื่อมโยง ถึงระดับไอเทม

หลักการทำงาน Remote Index

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีผู้รับผิดชอบและมีความรู้พื้นฐานทางด้านการดำเนินงาน ห้องสมุดคณะ/หน่วยงาน โดยเฉพาะ 2. ควรมีความร่วมมือและพัฒนาระบบยืม – คืน ระหว่างห้องสมุดคณะ/หน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผ่านเครือข่ายเชื่อมโยงทางออนไลน์ 3. ควรมีงบประมาณสำหรับดำเนินงานห้องสมุดทั้งในส่วนของครุภัณฑ์และทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด ให้มีความพร้อมและพอเพียงกับหลักสูตรที่เปิดสอน 4. ควรพิจารณาการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ซ้ำซ้อนให้คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

คำถาม ข้อเสนอแนะ คำถาม + ข้อเสนอแนะ

ขอขอบคุณ (สิ้นสุดการนำเสนอ)