การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ สำหรับห้องอ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม The Development of Library Automation for Connection and Services in Reading Room at Mahasarakham University Faculty สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ห้องอ่าน / ห้องสมุดคณะและหน่วยงานต่างๆ
Insert Title Text
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติในการเชื่อมโยงและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับห้อง อ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. เพื่อลดงบประมาณจากความซ้ำซ้อนในการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ 3. เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดร่วมกันของทุกคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาจากเอกสารและงานวิจัยของสำนักวิทยบริการ โดยการศึกษาจากตำรา วารสาร เอกสารรายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดคณะ เพื่อศึกษาหาแนวคิด ทฤษฎีและนำผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติต่อไป ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฐานข้อมูล การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับห้องอ่านคณะ/สถาบัน/สำนัก/กอง ประกอบด้วย * โปรแกรมระบบฐานข้อมูลใช้ มายเอสคิวแอล (MySQL) * โปรแกรมที่ใช้ในการเขียนเว็บเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลใช้ ภาษาพีเอชพี (PHP) * ระบบปฏิบัติการใช้ ลีนุกซ์ (Linux) ฝึกอบรมการบันทึกรายการทรัพยากรสารสนเทศเข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนาขึ้น ให้กับผู้ดำเนินงานห้องสมุดจากคณะ/หน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 22 หน่วยงาน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และเดือนกุมภาพันธ์ 2554 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ จำนวนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดทุกหน่วยงาน แยกตามหน่วยงาน จำนวนความซ้ำซ้อน ค่าร้อยละของทรัพยากรแต่ละหน่วยงาน จำนวนเงินโดย ประมาณที่เกิดจากความซ้ำซ้อนของทรัพยากร
Cloud Computing
Cloud Computing
สถาบันที่มีข้อมูลสูงสุด 5 อันดับแรก ความซ้ำซ้อนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดมีจำนวน 16,475 รายการ คิดเป็นร้อยละ 6.69 ของมวลทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมด จำนวนเงินที่เกิดจากความซ้ำซ้อนของทรัพยากรสารสนเทศโดยประมาณ 16,526,881 บาท
ระบบการทำงาน เจ้าหน้าที่คณะ/หน่วยงานปฏิบัติงานบันทึกรายการบรรณานุกรมหนังสือ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และหน้าจอสืบค้นของแต่ละหนวยงาน
ระบบการทำงาน ตัวอย่างผลการสืบค้น
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล ระบบการทำงาน ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล
ระบบการทำงาน หน้าจอฐานข้อมูลกลาง
ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ระบบการทำงาน ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง
ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ระบบการทำงาน ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ข้อมูลเชื่อมโยง ถึงระดับไอเทม
หลักการทำงาน Remote Index
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีผู้รับผิดชอบและมีความรู้พื้นฐานทางด้านการดำเนินงาน ห้องสมุดคณะ/หน่วยงาน โดยเฉพาะ 2. ควรมีความร่วมมือและพัฒนาระบบยืม – คืน ระหว่างห้องสมุดคณะ/หน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผ่านเครือข่ายเชื่อมโยงทางออนไลน์ 3. ควรมีงบประมาณสำหรับดำเนินงานห้องสมุดทั้งในส่วนของครุภัณฑ์และทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด ให้มีความพร้อมและพอเพียงกับหลักสูตรที่เปิดสอน 4. ควรพิจารณาการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ซ้ำซ้อนให้คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
คำถาม ข้อเสนอแนะ คำถาม + ข้อเสนอแนะ
ขอขอบคุณ (สิ้นสุดการนำเสนอ)