แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานของ คณะทำงานฝ่ายวารสารและเอกสาร
Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
เพื่อรับการประเมินภายนอก
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
กิจการนิสิต (Student Affairs)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
ขั้นตอนที่ 3 จัดเตรียมแหล่งข้อมูล (Provide Resources)
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการบริการสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี
Live and Learn Library Tour เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support) สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 16 กุมภาพันธ์ 2555

โครงสร้างฝ่ายบริการทรัพยากรสารนิเทศ งานบริการสารนิเทศ งานโสตทัศนวัสดุ ศูนย์สนเทศภาคเหนือ บริการการอ่าน (ยืมคืน / ยืมคืนด้วยตนเอง /บริการจอง /หนังสือสำรอง/ ยืมระหว่าง ห้องสมุด /นำส่งเอกสาร/อ่าน-สำรวจชั้น / บริการวารสารและเอกสาร) บริการสนับสนุนการวิจัย (ตอบคำถามและช่วยการวิจัย/ บริการฝึกอบรม/ บรรณารักษ์พบ นักวิจัย/ Alert/วิเคราะห์การอ้างอิง/ ห้องค้นคว้าบุคคล-กลุ่ม / บริการข่าวสารสนเทศจาก ฐานข้อมูล) บริการพิเศษ (SMS, American Corner, WWW, Self Access Learning, Moral Corner, Best Seller, ห้องศาสตราจารย์สุกิจฯ, บริการนักศึกษากลุ่มพิเศษ) อื่นๆ (กิจกรรมส่งเสริมการใช้สารนิเทศ เช่น ตอบคำถามชิงรางวัล smart reader of the year/ลงทะเบียนบัตรเข้าห้องสมุด / จุดตรวจเข้าออก /ของหายในห้องสมุด /บริการ ล่วงเวลา )

จุดเริ่มต้น “โครงการศูนย์บริการข้อมูลแก่นักวิจัย” สำนักหอสมุดได้กำหนดเป้าหมายการเป็น ห้องสมุดที่สนับสนุนการวิจัย ในแผนพัฒนาสำนักหอสมุดระยะที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) เพื่อตอบสนองการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังนั้นในปี พ.ศ. 2550 สำนักหอสมุดจึงได้ จัดให้มีศูนย์บริการข้อมูล แก่นักวิจัย (Researchers’ Service Center: RSC) สำหรับเป็นแหล่งสนับสนุนนักวิจัย อาจารย์ และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ให้มีการผลิตผล งานวิจัยที่มีคุณภาพ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักวิจัยสามารถใช้สารนิเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และหลากหลาย ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรสารนิเทศและบริการของ สำนักหอสมุดอย่างคุ้มค่า ตอบสนองเป้าหมายสำนักหอสมุดในการเป็นห้องสมุดที่ สนับสนุนการวิจัย และตอบสนองยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยในการเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการวิจัย และมีผลงานวิจัยที่เป็นเลิศ

ขั้นตอนและวิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 จัดเตรียมบุคลากร ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 3 จัดเตรียมแหล่งข้อมูล (Provide Resources) ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาการให้บริการ (Services Development) ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผลการดำเนินงาน

19 กันยายน 2551 ขั้นตอนที่ 1 จัดเตรียมบุคลากร ขั้นตอนที่ 1 จัดเตรียมบุคลากร มีการส่งผู้บริหารและบุคลากรงานบริการสารนิเทศและห้องสมุดคณะไปศึกษาดูงานการจัดบริการเพื่อการวิจัยที่มหาวิทยาลัยในประเทศออสเตรเลีย ในเดือนกรกฎาคม 2550 เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานการสนับสนุนวิจัยของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ มีการถ่ายทอดความรู้แก่คณะทำงานและบุคลากรห้องสมุดในเวทีการจัดการองค์ความรู้ (KM Forum) 19 กันยายน 2551

ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนและดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงานนำร่องโครงการบริการข้อมูลนักวิจัย 3 กลุ่มสาขาวิชา มีการประชุม การรายงานผลการดำเนินการในแต่ละสาขาวิชา เพื่อแลกเปลี่ยนเทคนิคและวิธีการการพบนักวิจัย ตลอดจนการรายงานปัญหาที่ประสบ และการหาแนวทางแก้ไข