สรุป Knowledge sharing การวิจัยในชั้นเรียน กลุ่ม3/2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
ตัวอย่างการทำ และการเขียน PDCA ในเรื่องของการเรียน การสอน
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Teaching procedural skill
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
Co-operative education
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
1. ผศ.กิตติภูมิ มีประดิษฐ์ 2. ดร.จิตต์ภิญญา ชุมสาย ณ อยุธยา
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
เทคนิคการนำเสนอ วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2554
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานที่ ๑ บันทึกสัมภาษณ์ครูภาษาอังกฤษ
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุป Knowledge sharing การวิจัยในชั้นเรียน กลุ่ม3/2 UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

ประเด็นในการนำเสนอ ภาพรวมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม การวิจัยในชั้นเรียน 8 เรื่องเล่า ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย Best practice ของกลุ่ม : วิชาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น คณะศึกษาศาสตร์ ม.มส. UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

สมาชิก ดร.พัชรี ประเศรษฐสุต (ภาษาอังกฤษ ม.วล.) ดร.สิทธิศักดิ์ คำผา (ม.รม.) อ.จันทกานต์ กาญจนเวทางค์ (พยาบาลศาสตร์ มน.) ผศ.ดร.ฉลาด จันทรสมบัติ (ศึกษาศาสตร์ ม.มส.) ดร.ศักดิ์พงษ์ หอมหวล (ม.รม.) รศ.นสพ.ประจักษ์ พัวเพิ่มพูลศิริ (สัตวแพทย์ฯ ม.มส.) ศิริตรี สุทธจิตต์ (เภสัชศาสตร์ ม.มส.) ดร.นิศารัตน์ โชติเชย (ม.รม.) ผศ.ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ (พยาบาลศาสตร์ มหิดล) ผศ.นพ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล (แพทยศาสตร์ มข.) สมาชิก UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

เรื่องเล่าการวิจัยในชั้นเรียน (1) ผู้เล่า ปัญหา ทำอย่างไร ผลเชิงบวก ดร.สิทธิ์ศักดิ์ (มรม-วิชาปัญหาพิเศษ ป.ตรีปี3/1) งบ30บ./คน ทำคนเดียวไม่สำเร็จ -นศ.ตั้งโจทย์จากการreview paper -ทีม5คน -อ.เขียนขอทุนภายนอก -นศ.มีงบวิจัย -นศ.ได้กระบวนการคิดวางแผน&แก้ปัญหา +paper -อ.ได้paper -แก้ปัญหาชุมชน อ.จันทกานต์ (มน.-วิชาวิจัยทางการพยาบาล+การพยาบาลผู้สูงอายุ (lect&lab) ป.ตรีปี4/1-2) -นศ.มองเรื่องวิจัยไกลตัว Research based learning +บูรณาการรายวิชา 4/1 เรียน>เข้ากลุ่มรับโจทย์ > proposal>เก็บข้อมูล>นำเสนอในห้อง&มน.วิจัย 4/2 นศ.คิดโครงการต่อยอดจากผลวิจัยในเทอม1 อ.ทำเป็นวิจัย, นศ.เป็น RA ขยายผล เพิ่มรายวิชา -นศ.ได้เจอcaseจริง เรียนรู้จิตสังคมผู้สูงอายุ -นศ.ได้ ทักษะการคิด แก้ปัญหา ความรู้ -นศ.มองเรื่องวิจัยใกล้ตัว -นศ.ได้เทียบทฤษฎี vs. การปฏิบัติ -ผู้สูงอายุได้ความภูมิใจ - อ.ได้paper   UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

เรื่องเล่าการวิจัยในชั้นเรียน (2) ผู้เล่า ปัญหา ทำอย่างไร ผลเชิงบวก ดร.นิศารัตน์ (มรม.-วิชาธุรกิจ ป.ตรี) นศ.ไม่เข้าใจเรื่องกำไร -บรรยาย แล้วทำโครงการธุรกิจจำลอง นศ.มีความเข้าใจ+ทักษะเพิ่มขึ้น นศ.เกิดความรู้สึกเป็นผู้ประกอบการ ดร.พัชรี (มวล.-วิชาภาษาอังกฤษ ป.ตรี) -ครูน้อย นศ. กลุ่มใหญ่ -ครูมือใหม่ -จะสอนอ่านอย่างไรให้ได้ผลในclassขนาดใหญ่? (“จะรู้ได้ไงว่าได้ผล ก็ต้องทำวิจัย”) -ผลสัมฤทธิ์ยังไม่เกิดกับทุกคน 1.Project based- เขียนบทละคร+อ่านบทละครตัวเอง 2. อิงทฤษฎี Communication based learning + บูรณาการกับบริการชุมชน โจทย์: สอนการออกเสียงภาษาอังกฤษให้เด็กประถม รอบ มน.>นศ.ต้องเป็น model ได้> นศ.สร้างแผนการฝึกภาษาของตน+แผนการสอน>สอน -นศ.พัฒนาทักษะการอ่านการเขียน -นศ.เกิดawareness -นศ.เลือกฝึกงานเป็นครูในสหกิจศึกษา -นศ.feedback พัฒนาหลักสูตร -นร.ประถม+ครูได้พัฒนาทักษะภาษา -อ.ได้ประสบการณ์จริง ได้โจทย์ใหม่ต่อเนื่อง -Inter conference   UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

เรื่องเล่าการวิจัยในชั้นเรียน (3) ผู้เล่า ปัญหา ทำอย่างไร ผลเชิงบวก ผศ.ณัฐสุภางค์ (มม.-วิชาทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล ป.ตรี3) ที่พักและที่ฝึกงานอยู่ไกลกัน เวลาเรียนในห้องมีจำกัด นิสิตเบื่อ โครงการพี่สอนน้อง ย้ายที่เรียนไปที่หอพัก ขอห้อง มี vdo ย้ายอุปกรณ์ พี่ฝึกตัวเองก่อนสอนน้อง -นศ.ไม่เครียด พูดภาษาเดียวกัน -พี่ภูมิใจ ได้recallและกระตุ้นการปรับปรุงตนเอง ผศ.ดร.ฉลาด (ม.มส.-วิชาการป.โท) -พัฒนาตัวชี้วัดด้านมาตรฐานบัณฑิต (SCL) -สอน 3 ศูนย์ ต้องปรับจำนวนครั้งการสอนจาก 8 เป็น4 พบ นศ. 4 ครั้ง x 8ชม. ทำเอกสารการสอน> นศ.ศึกษาด้วยตนเอง สรุป+ตอบคำถามลงในแฟ้มสะสมงาน >ส่งในครั้งที่4 ทำvcdกรณีศึกษา 15-25min.> นศ.ดู >ตอบโจทย์3ข้อ ศึกษาค้นคว้าชุมชนศก.พอเพียง: เตรียมความพร้อม>กลุ่ม5-7คน เลือกชุมชน>วางแผน>เก็บข้อมูลนำเสนอในห้อง+ประชุมวิชาการ Action learning -นศ.ความรู้งอกงาม พอใจในการสอน ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง สนุก ได้ค้นคว้าแลกเปลี่ยน สามารถนำเสนอผลงานในกลุ่มใหญ่ -อ.ได้paper -คณะได้หลักฐานQA   UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

เรื่องเล่าการวิจัยในชั้นเรียน (4) ผู้เล่า ปัญหา ทำอย่างไร ผลเชิงบวก ผศ.นพ.ไชยวิทย์ (มข.-ผ่าตัด ป.ตรี6) ทำอย่างไรให้นสพ.ปรับตัวเข้ากับการเรียนหลายรูปแบบได้ในโรคที่ซับซ้อน -เรียนข้างเตียง, ห้องผ่าตัด, เรียนนอกเวลา -จันทร์เช้า นศ.ออก OPD เจอ caseจริง >ซักประวัติ ศึกษาค้นคว้าเพิ่ม (3case/wk) -ใช้ case study เสริม -จัดconference ให้ได้แลกเปลี่ยน -การเรียนจากcase จริงให้ผลดีกว่าcaseแห้ง -วางแผนจ้างคนไข้จริงที่ต้องมาF/U ให้เป็น case study ศิริตรี (ม.มส. ป.ตรี5-บูรณาการ5รายวิชา -กลุ่มSCL GE-การคุ้มครองผู้บริโภคทางเภสัชสาธารณสุข) -บรรยายล้วน นิสิตไม่มีส่วนร่วม ผลสัมฤทธิ์การเรียนต่ำ -ไม่ทราบสถานการณ์คบส.ในมมส. Project based learning เพิ่มการมีส่วนร่วม แบ่งกลุ่ม> วางแผนกิจกรรม>รณรงค์> สรุป นำเสนอ> โหวตให้รางวัล>วาดภาพแสดงความสุขจากรายวิชา -งบ สสส.สนับสนุน -พวงกุญแจ,ที่คั่นหนังสือ,fwd mail, การ์ตูน, เอกสารแผ่นพับ,ละคร,clip VDO,เสื้อรณรงค์ -นศ.ผลการเรียนดีขึ้น นำความรู้ไปใช้ได้ดีขึ้น พอใจศักยภาพความรู้ มีความสุขในการเรียน -ชุมชนได้ความรู้ เกิดความตระหนัก -มมส.เข้าใจสถานการณ์คบส.ในมหาวิทยาลัย   UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ขอสนับสนุนแนวคิด การปรับระบบพิจารณาผลงานเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิจัยด้านการเรียนการสอน โดยเฉพาะสำหรับสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ฯ การจัดทำวารสารวิชาการด้านการพัฒนาการเรียนการสอน UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)

Best practice กลุ่มวิจัยในชั้นเรียน3/2 วิชาการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาท้องถิ่น คณะศึกษาศาสตร์ ม.มส. UKM#14 @มหาสารคาม (9-10 ม.ค. 52)