การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student Center)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การจัดระบบเอกสารในการประกันคุณภาพ
กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
COE เว็บปรับแต่งสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชน Creation of Custom-built Web of CRDCH Research Center นายสุรศักดิ์ แสงเพชร รหัสนักศึกษา.
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ1
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2
กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ด้านการให้คำปรึกษา
 การสอนแบบอภิปราย.
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เสวนากลุ่มย่อย กลุ่มที่ 4
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
อาจารย์อาคม เผือกจันทึก
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
Update Module TCU-LMS ธัญภา จิรธรรมธนากุล โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ต่อ 2006
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หัวข้อที่ 3 การสื่อสารสร้าง ความเข้าใจ. ประเด็นการพิจารณา 1. ช่องทางการสื่อสาร / ระบบการสื่อสาร ระหว่าง - หน่วยงานกับเจ้าภาพ - หน่วยงานกับ กพร. - หน่วยงานกับหน่วยงานอื่นๆ.
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
กลุ่มที่ 2 Blueprint for Change (BFC). รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. นิตยา วงศ์เดอรี ประธาน 2. สมคิด จันทมฤก เลขานุการ 3. สีหเดชา กลิ่น หอมหวล 4. ศิธร ปถม.
Blueprint for Change.
นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
คณะทำงานจัดการองค์ความรู้
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ตัวอย่างการจัดทำ แผนบริหารความเสี่ยงตาม SP 7
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
กลุ่มที่ ๔ ภารกิจด้านการประกัน คุณภาพการศึกษา. พัฒนาการของ การดำเนินงานใน แต่ละภารกิจ ปัญหา อุปสรรคและ แนวทางการ แก้ปัญหา บทบาทของ เทคโนโลยี สนับสนุนการ.
ชี้ทาง “เรียน อย่างนี้สิจบแน่”
สรุปการประชุมสัมมนา ภาควิชาสัตวศาสตร์ สัตวบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การสร้างสื่อ e-Learning
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student Center) กลุ่มที่ 1/1 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student Center)

สมาชิกในกลุ่ม 1. ศ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา (มหาวิทยาลัยมหิดล) 1. ศ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา (มหาวิทยาลัยมหิดล) 2. รศ.ดร.ขวัญใจ กนกเมธากุล (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 3. ผศ.นสพ.ดร.วรพล เองวานิช (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) 4. ผศ.ดร.ศุภรัตน์ จิตต์จำนง (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) 5. ดร.ทิพย์วัลย์ สุทิน (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) 6. ดร.นลินรัตน์ อภิชาต (มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม) 7. อ.รัตน์ดา อาจวิชัย (มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม) 8. อ.ดวงฤดี คัยนันทน์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม)

สรุปประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม 1/1 ประเด็นที่ 1 รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนแบบ (Student Center) ไม่ตายตัวจะมีรูปแบบ หลากหลายตามบริบทของ รายวิชา ผู้เรียน ผู้สอน และมหาวิทยาลัย

ประเด็นที่ 2 หลายมหาวิทยาลัย ให้การสนับสนุนทางด้าน IT กลุ่มคิดว่าสิ่งที่ควรได้รับการสนับสนุนเพิ่มได้แก่ จำนวนบุคลากร สถานที่ งบประมาณในการจัดการเรียนการสอน

ประเด็นที่ 3 กลุ่มมีความเห็นว่าความเข้าใจต่อคำนิยามของ Student Center ยังไม่ตรงกัน จึงยากต่อการประเมินความสำเร็จ แต่ในกลุ่มมีความมั่นใจตรงกันว่าเป็นวิธีการที่ดี ทำให้ผู้เรียน มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ด้วยตัวเอง มีความสุขทั้งผู้เรียนและผู้สอน จึงควรที่จะทำต่อไป

ประเด็นที่ 4 กลุ่มพบว่า อาจารย์หลายท่านกังวลเรื่องเนื้อหา ที่มีมาก ทำให้เกิดอุปสรรค์ในการจัดการเรียน การสอนแบบ Student Center ซึ่งต้องได้รับการจัดการแก้ไข ในบางมหาวิทยาลัยก็ได้มีการพิจารณา เนื้อหา สาระในแต่ละรายวิชา เพื่อดูเนื้อหาที่ซ้ำซ้อนกัน แล้วมีการปรับปรุงหลักสูตรเนื้อหาให้กระชับขึ้น

ประเด็นที่ 5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ Student Center ต้องมาจาก 1. ระดับผู้บริหาร 2. ระดับผู้ปฎิบัติ จึงควรดำเนินการต่อไป