Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ระบบการบริหารการตลาด
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
Impressive SAR.
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
การวางแผนกลยุทธ์.
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
ประเมินตามจริง ยิ่งเรียนรู้ ยิ่งพัฒนา
กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
EdPEx Kick off.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 1
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE) ผศ.นพ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล สำนักงานประเมินและประกันคุณภาพ

2. ทำไมจึงควรทำ ECPE ในองค์กรของเรา 3. ถ้าจะทำ จะต้องทำอย่างไร ประเด็นนำเสนอ 1. ECPE คือ อะไร 2. ทำไมจึงควรทำ ECPE ในองค์กรของเรา 3. ถ้าจะทำ จะต้องทำอย่างไร

1. ECPE คือ อะไร ECPE คือ TQM ( Total Quality Management ) แบบอเมริกัน Malcom Baldrige National Quality Award ( MBNQA ) ซึ่งเป็นรางวัลคุณภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา มาใช้เฉพาะองค์กรการศึกษา

Malcom Baldrige คือใคร สำคัญอย่างไร Mr.Malcom Baldrige เป็นรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์ ของอเมริกา ในสมัย ประธานาธิบดี Ronald Regan ปลายทศวรรษ 1980 เห็นว่าสินค้า ของอเมริกา แข่งขันกับชาวโลกไม่ได้ โดยเฉพาะญี่ปุ่น ต้องมีการปรับปรุงคุณภาพครั้งใหญ่ จัดตั้งรางวัลคุณภาพแห่งชาติขึ้น แต่เสียชีวิตเสียก่อน จากการขี่ม้า จึงตั้งชื่อรางวัลนี้ว่า Malcom Baldrige National Quality Award ( MBNQA ) ประกาศรางวัลครั้งแรกเมื่อ ปี 1989

สกอ. มีแนวคิดที่จะมีการประกันคุณภาพ 2 ระดับ ระดับพื้นฐาน 9 องค์ประกอบ ระดับสู่ความเป็นเลิศ ECPE สกอ.แปล Education Criteria for Performance Excellence (ECPE) 2009-2010 เป็นภาษาไทย รับสมัครคณะนำร่อง 12 คณะ ทั่วประเทศ จะประกาศรับสมัคร เดือนกุมภาพันธ์นี้

http://www.baldrige.nist.gov/Criteria.htm

ค่านิยมหลัก แนวคิด และเกณฑ์ ค่านิยมหลักและแนวคิด เกณฑ์ การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล การให้ความสำคัญกับคณาจารย์/บุคลากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และคู่ความร่วมมือ ความคล่องตัว การมุ่งเน้นอนาคต การจัดการเพื่อนวัตกรรม การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง ความรับผิดชอบต่อสังคม การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า มุมมองในเชิงระบบ การนำองค์การ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้า การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การให้ความสำคัญกับผู้ปฏิบัติงาน การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์การดำเนินงานขององค์กร

น้ำหนักคะแนนตาม ECPE หมวด 1. การนำองค์กร 120 หมวด 1. การนำองค์กร 120 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง 70 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม 50 หมวด 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 85 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 40 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 45 หมวด 3. การมุ่งเน้นลูกค้า 85 3.1 ความผูกพันของลูกค้า 40 3.2 เสียงของลูกค้า 45

หมวด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 90 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์การ45 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 45 หมวด 5. การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 85 5.1 ความผูกพันของผู้ปฏิบัติงาน 45 5.2 สภาพแวดล้อมของผู้ปฎิบัติงาน 40 หมวด 6. การจัดการกระบวนการ 85 6.1 ระบบงาน 35 6.2 กระบวนการทำงาน 50

หมวด 7. ผลลัพธ์ 450 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 100 7.2 ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 70 7.3 ด้านงบประมาณ การเงินและตลาด 70 7.4 ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 70 7.5 ด้านประสิทธิผลขององค์การ 70 7.6 ด้านการนำองค์กร 70 รวม 1000

2. ทำไมจึงควรทำ ECPE ในองค์กรของเรา Malcom Baldrige เป็นระบบบริหารคุณภาพ ที่ถูกนำไปใช้มากที่สุดในโลก ( > 80 ประเทศ ) อาจเรียกได้ว่า Malcom Baldrige เป็นภาษาอังกฤษของระบบคุณภาพ สามารถเปรียบเทียบกับ ประเทศต่างๆได้ทั่วโลก ECPE ใช้กับองค์กรทางการศึกษาโดยเฉพาะ

ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ได้ทำการประเมินตนเอง ตามแบบมาตรฐาน 2. เห็นโอกาสในการปรับปรุงองค์กร 3. มุ่งเน้นในเรื่องสำคัญ 4. การเรียนรู้ของบุคคลและองค์กรดีขึ้น 5. ประสิทธิผลขององค์กรดีขึ้น 6. ผลผลิตมีคุณภาพสูงขึ้น

ลักษณะสำคัญของเกณฑ์ ECPE มุ่งเน้นผลลัพธ์ ไม่ได้กำหนดว่า องค์กรควรมีโครงสร้างอย่างไร องค์กรควรมีหน่วยงานอะไรบ้าง องค์กรควรใช้วิธีใดในการดำเนินการ สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ เพื่อให้เป้าประสงค์ ไปในทางเดียวกันทั้งองค์กร สนับสนุนการตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์

3. ถ้าจะทำ จะต้องทำอย่างไร ก่อนจะทำ ผู้บริหารระดับสูงศึกษา ทำความเข้าใจ ผู้บริหารระดับสูง ประกาศเป็นนโยบาย ขายความคิดให้บุคลากร

10 ขั้นตอนในการดำเนินการ ECPE กำหนดขอบเขตที่จะประเมิน เลือกแชมเปี้ยนของแต่ละหมวด (1 – 7 ) กำหนดรูปแบบและแผนงานการประเมินตนเอง ผู้นำระดับสูงขององค์กร และแชมเปี้ยน ร่วมกันเขียน โครงร่างองค์กร ตอบคำถามตามเกณฑ์และเรียบเรียง

10 ขั้นตอนในการดำเนินการPMQA 6. แชมเปี้ยนของแต่ละหมวด เลือกทีมทำงานและเขียนแบบประเมินตนเอง 7. จากแบบประเมินตนเอง ให้มองหาจุดแข็งและโอกาสพัฒนาในแต่ละหมวด 8. จัดลำดับความสำคัญของจุดแข็งและโอกาสพัฒนา 9. จัดทำแผนปฏิบัติการ และนำไปปฏิบัติ 10. ประเมินการจัดทำแบบประเมินตนเองและปรับปรุงระบบ