การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เครือบริษัท มอจ์ยี่ กรุ๊ป
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
เอกสารเคมี Chemistry Literature
สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจ ของผู้ประกอบการ (บัณฑิตระดับปริญญาตรี) ปีการศึกษา กันยายน 2548.
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายทางการเกษตรพ. ศ
โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
แนวทางการดำเนินงานส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2550 กลุ่มงานส่งเสริมภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
1 5 มีนาคม 2552 ดร. อภิชาติ พงษ์ ศรีหดุลชัย เครือข่าย สารสนเทศ ข้าวไทยใน อนาคต.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
1 โดย... นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร DEVELOPMENT OF SWEET CORN HYBRID VARIETY FOR AGRO-INDUSTRY

สถานการณ์การผลิตข้าวโพดหวาน (ตัน)

อุตสาหกรรมข้าวโพดหวาน Whole kernel in brine, Frozen sweet corn U.S.A. : Jubilee, Silver Queen, Challenger, Miracle Thailand : HSSW DMR, Argo, KU17127, KU11476 Insee1, Insee2 (sh2), KSSC923, KSSC941, KSSC942 (bt1), Nappawan 1, CMS 1540, KKU991, KU992 ATS1, ATS2, Hybrix5, Hybrix10, Sugar73, Sugar74

วัตถุประสงค์หลัก 1. เพื่อคัดเลือกและปรับปรุงความแข็งแรงของพันธุ์แท้ 1. เพื่อคัดเลือกและปรับปรุงความแข็งแรงของพันธุ์แท้ 2. เพื่อสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม Test Cross 3. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพความหวานอ่อนนุ่ม ผลผลิต ความสม่ำเสมอของฝัก การเรียงเมล็ดและสี กับพันธุ์ มาตรฐานของรัฐบาลและบริษัทเอกชน ในท้องถิ่น

4. เพื่อปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตเพื่อแปรรูป - คุณภาพความหวาน 14% Brix ขึ้นไป - น้ำหนักเฉลี่ยทั้งเปลือกฝักละ 250-350 กรัม - น้ำหนักฝักปอกเปลือก 220 กรัม - ฝักยาว 17 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 ซม สีเมล็ดเหลืองอ่อน เรียง 12-18 แถว - รูปทรงฝักเป็นทรงกระบอก

5. เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีที่สุด ให้เกษตรกรปลูก และส่งผลผลิต แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน 6. เพื่อขยายเมล็ดสายพันธุ์แท้ที่ใช้เป็นสายพันธุ์พ่อและสายพันธุ์แม่ในแปลงปลอดละอองเกสรจากพันธุ์อื่น 7. เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมเดี่ยว และส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเพื่ออุตสาหกรรมเกษตร

ขั้นตอนการวิจัย 3 ปี ปี 2538 LR รวบรวมและศึกษาเชื้อพันธุกรรม ปี 2539 D คัดเลือกสายพันธุ์ด้วยสายตา ประเมินลักษณะและผลผลิต ปี 2539 LR ขยายสายพันธุ์แท้ที่ผ่านการคัดเลือก ปี 2540 D สร้างพันธุ์ลูกผสมเดี่ยว (Test cross)

ขั้นตอนการวิจัย 3 ปี ปี 2540 R การเปรียบเทียบคุณภาพและผลผลิต ปี 2540 LR การขยายเมล็ดสายพันธุ์พ่อและแม่ ปี 2541 D การผลิตเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ชั่วที่ 1 ปี 2541 R การทดสอบพันธุ์ลูกผสมในไร่เกษตรกร แปรรูปฝัก ในโรงงานอุตสาหกรรม

สถานที่ทำการวิจัย 1. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย เชียงใหม่ 1. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย เชียงใหม่ 2. ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ อ.สันทราย เชียงใหม่ 3. สถานีโครงการหลวงแม่สาใหม่ อ. แม่ริม เชียงใหม่ 4. ไร่เกษตรกร อ. แม่แตง และ อ. สันทราย เชียงใหม่ 5. โรงงานอาหารสำเร็จรูปสันติภาพ เชียงใหม่

ผลการวิจัย ปี 2538 LR รวบรวมและศึกษาเชื้อพันธุกรรม Inbred No. 15 50%Tass 50%Silk Poll. Date Mean 49.6 50.3 51.4 Standard Dev. 1.6 1.5 1.5 Minimum 47.0 48.0 49.0 Maximum 53.0 54.0 55.0

ผลการวิจัย 2539 D ประเมินผลผลิตและคัดเลือกสายพันธุ์

ผลการวิจัย 2539 LR ขยายสายพันธุ์แท้ที่ผ่านการคัดเลือก 11 สายพันธุ์ ได้เมล็ด # เฉลี่ย 489 กรัม/สายพันธุ์ Vigor = 2.9 Ear Aspect =1.8 Grain Type = Yellow

ผลการวิจัย ปี 2540 D สร้างพันธุ์ลูกผสมเดี่ยว (Test cross) ลูกผสม F1 62 คู่ CMS 1540 F1 #1 - #62 119 กรัม

ผลการวิจัย ปี 2540 R การเปรียบเทียบคุณภาพและผลผลิต CMS 1540#50, 2094 CMS 1540#42, 1978 CMS 1540#51, 1920 CMS 1540#56, 1862 Mean of Exp., 1860

ลักษณะฝักพันธุ์ลูกผสมที่ผ่านการคัดเลือก

ผลการวิจัย ปี 2540 LR การขยายเมล็ดสายพันธุ์พ่อและแม่ ไร่เกษตรกร อ.แม่แตง Female Inbred #15-S5#2 22 .8 กิโลกรัม Male Inbred # 40 -S5 5.8 กิโลกรัม

ผลการวิจัย ปี 2541 D การผลิตเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ชั่วที่ 1 แถวตัวเมีย : แถวตัวผู้ 3 : 1 ระยะปลูก 65 x 25 x 2 อายุเก็บเกี่ยว 100 วัน

เมล็ดพันธุ์ลูกผสม CMS 1540#51 F1 ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ 90 กก./ไร่ น.น.1,000 เมล็ด 98.2 กรัม บรรจุถุง 1 กก. ปลูกได้ 1 ไร่

ผลการวิจัย ปี 2541 R ทดสอบพันธุ์ลูกผสมในไร่เกษตรกร แปรรูปฝัก ในโรงงานอุตสาหกรรม

เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์เมล็ดข้าวโพดในน้ำเกลือ ATS 2 F1 สีเหลืองอ่อน สม่ำเสมอ CMS 1540 F1 สีเหลืองเข้ม

สรุปผลการทดลอง พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม CMS 1540#51 F1 อายุสั้น ออกดอกตัวผู้ 48 วัน ออกไหม 51 วัน สูง 180 ซม. สม่ำเสมอ น.น.ฝักสดทั้งเปลือก 320 กรัม ผลผลิตเฉลี่ย 1,920 กิโลกรัมต่อไร่ คุณภาพฝักสดดี อ่อนนุ่ม หวาน 14.6 % Brix แปรรูปเป็นเมล็ดข้าวโพดในน้ำเกลือได้ดีพอควร ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ 90 กก./ไร่ น.น.1000 เมล็ด 98.2 g.

ขอขอบคุณ คณะทำงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักสด ศูนย์วิจัยพืชไร่ เชียงใหม่ กรมวิชาการเกษตร ดร. จินดา จันทร์อ่อน สถาบันวิจัยพืชไร่ คณะกรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้