ระบบควบคุมภายใน :การบริหารความเสี่ยง งานมาตรฐานการควบคุมภายใน สำนักงานคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ออกตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2542
ที่มาของการบริหารความเสี่ยง คำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ ( ก.พ.ร.) การประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก(สกอ. และ สมศ.)
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 1. เพื่อป้องกันหรือลด ความผิดพลาด ความสูญเสีย ที่อาจเกิดขึ้นจากการ ดำเนินงาน 2. เพื่อสร้างความมั่นใจให้ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียว่าจะได้รับผลงาน/บริการที่ดี 3. การปฏิบัติตามกฎหมาย
ผู้รับผิดชอบระบบควบคุมภายใน 1.ผู้บริหาร 2.คณะกรรมการควบคุมภายใน 3.บุคลากรทุกคน เพราะการควบคุมภายในเป็นส่วนประกอบที่แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ
เราจะควบคุมอะไร? เป้าหมาย 2. ตัวชี้วัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ 3. ผลการปฏิบัติงาน/ผลการดำเนินงาน 4.ผู้ปฏิบัติงาน
ระบบควบคุมภายในได้มาอย่างไร การประเมินตนเอง 2. ประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก 3. รวบรวมปัญหา/อุปสรรค ที่มีอยู่และที่คาดว่าจะเกิด 4. หาวิธีการในการจัดการกับปัญหา
ความหมาย : ความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล หรือ เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่กำหนด
การบริหารความเสี่ยง หมายถึง วิธีการบริหารจัดการความเสี่ยงให้ลดลง หมดไป หรืออยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยการวิธีการ หลีกเลี่ยง ถ่ายโอน ยอมรับ หรือ หาวิธีการ/กิจกรรมในการควบคุมความเสี่ยง
การควบคุมภายในของมหาวิทยาลัย 1. ด้านการการเรียนการสอน 2. ด้านการวิจัย 3. ด้านการบริการวิชาการ 4. ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5. ด้านการประกันคุณภาพ 6. ด้านการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด/ตัวบ่งชี้ ที่เกี่ยวข้อง 1. ตามแผนกลยุทธ์/วัตถุประสงค์/เป้าหมาย ของหน่วยงานและของมหาวิทยาลัย 2. ตัวบ่งชี้ของสมศ./สกอ. 3. ตัวชี้วัดของ ก.พ.ร. 4. ภารกิจของบุคลากรทุกคน
แนวทางในการดำเนินการ 1. แต่งตั้งกรรมการควบคุมภายในของหน่วยงาน เพื่อทำหน้าที่ - ประเมินสภาพแวดล้อมการควบคุมของหน่วยงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เช่น รูปแบบการทำงานของผู้บริหาร ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ที่มีผลต่อการดำเนินงาน ระบบการเงิน งบประมาณ
ระบบการตรวจสอบความถูกต้องของงานก่อนออกรายงาน จำนวนบุคลากร โครงสร้างของหน่วยงาน ระบบการตรวจสอบความถูกต้องของงานก่อนออกรายงาน 2. นำตัวชี้วัดที่มหาวิทยาลัยกำหนดและตัวชี้วัดตามแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัติงานประจำปี/ วัตถุประสงค์ มาเป็นตัวตั้งในการค้นหาความเสี่ยง
3.มอบหมายให้บุคลากรทุกคนค้นหาความเสี่ยงในการปฏิบัติงานของแต่ละคน 4. รวบรวมความเสี่ยงทั้งหมดมาจัดลำดับความสำคัญ 5. หาวิธีการควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่สามารถทำได้ ยอมรับได้ คุ้มค่า (โดยผ่านความเห็นชอบของบุคลากรร่วมกัน) 6. จัดทำคู่มือระบบควบคุมภายในของหน่วยงานส่งสำนักงานคุณภาพฯ
7. จัดให้มีการประเมินระบบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยคณะกรรมการของหน่วยงาน( 6เดือน/9 เดือน) 8.รับการประเมินจากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ 9. จัดทำรายงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ภายในวันที่ 30 พย. ของทุกปี ส่งสำนักงานคุณภาพฯ
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยง ด้านการเรียนการสอน - ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนอยู่ในระดับต่ำ - นักศึกษาไม่ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการ
1.ระดับความ พึงพอใจของนักศึกษา ต่อคุณภาพการสอน ของอาจารย์และสิ่ง ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง วิธีการควบคุม 1.ระดับความ พึงพอใจของนักศึกษา ต่อคุณภาพการสอน ของอาจารย์และสิ่ง สนับสนุนการเรียนอยู่ ในระดับต่ำ อาจารย์ขาดเทคนิค การสอนที่จูงใจผู้เรียน 2. ครุภัณฑ์ในห้องเรียน ไม่ได้รับการปรับปรุงให้อยู่ ในสภาพเหมาะสม จัดกิจกรรมสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ ให้ แก่คณาจารย์ ในเรื่อง เทคนิคการสอน หรือ กระบวนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ฯลฯ 2. นักศึกษาไม่ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการ 1.นักศึกษาไม่ทราบแหล่ง เสนอผลงาน 2. นักศึกษาขาด ประสบการณ์ในการนำ เสนอ -จัดกิจกรรมสนับสนุน สร้างเสริม ความรู้ ความมั่นใจให้แก่ นักศึกษาอย่าง สม่ำเสมอ
ขอบคุณค่ะ