วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การประชุมชี้แจงและกำหนด KPIs ระดับภาควิชา/หน่วยงานจัดการเรียนการสอน
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549 การประชุมปฏิบัติการ การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง Self Assessment Report ประจำปีการศึกษา 2548 วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549 อาจารย์ขวัญใจ จินดานุรักษ์ อาจารย์สุพรรณี สินโพธิ์

วัตถุประสงค์ของการประชุมปฏิบัติการ... เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา รับทราบตัวบ่งชี้ของ สกอ. และ สมศ. รับทราบเกณฑ์การประเมินภายนอกเพื่อ การรับรองมาตรฐานระดับสถาบัน และระดับกลุ่มวิชา ของ สมศ.

วัตถุประสงค์ของการประชุมปฏิบัติการ... เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม: สามารถจัดทำรายงานประเมินตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินภายนอกและรับรองมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนสร้างวัฒนธรรมแห่งการพัฒนาคุณภาพขององค์กร

หัวข้อการบรรยาย ความจำเป็นของการประกัน-คุณภาพการศึกษา การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามระบบ สกอ. และ สมศ. การจัดทำรายงานการประเมิน ตนเอง (SAR)

ความจำเป็นของ... การประกันคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบประกันคุณภาพภายใน และ การประกันคุณภาพภายนอก ระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง

ความจำเป็นของ... การประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่จะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย 3 ระบบย่อย  ระบบการพัฒนาคุณภาพ  ระบบการตรวจติดตามคุณภาพ  ระบบการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก

การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายนอก ผู้รับผิดชอบ: สมศ. กระบวนการ -การตรวจสอบคุณภาพ -การประเมินคุณภาพ -การให้การรับรอง -การจัดอันดับ การประกันคุณภาพภายใน ผู้รับผิดชอบ: มหาวิทยาลัย สกอ. กระบวนการ -การพัฒนาคุณภาพ -การติดตามคุณภาพ -การประเมินคุณภาพ

หลักการ... สถานศึกษาประเมินและ ให้ข้อติชมตนเองเป็นประจำทุกปี สกอ. (ต้นสังกัด)ให้ข้อติชม อย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 3 ปี (ยัง) สมศ.ให้ข้อติชมอย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 5 ปี (2545, 2549,……)

ความสัมพันธ์ระหว่าง การประกันคุณภาพภายใน และ การประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิบัติงานของสถาบัน การศึกษา การตรวจเยี่ยม ของ สมศ. การประเมินตนเอง รายงาน การประเมินตนเอง รายงานการประเมินของ สมศ. การ ติดตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามระบบ สกอ. หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพภายใน จะพิจารณาจาก ระบบและกลไกการประกันคุณภาพของคณะ/มหาวิทยาลัย โดยคำนึงถึงองค์ประกอบคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา 9 องค์ประกอบ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินงาน การเรียนการสอน  กิจกรรมพัฒนานักศึกษา การวิจัย  การบริการวิชาการแก่สังคม การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม  การบริหารจัดการ การเงินและงบประมาณ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามระบบ สกอ. คณะ/มหาวิทยาลัยมีผลการดำเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้ คณะ/มหาวิทยาลัย จัดทำรายงานการประเมินตนเองที่ครอบคลุมการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพการศึกษา คณะ/มหาวิทยาลัย จัดให้มีระบบการตรวจสอบและประเมินภายใน 5. คณะ/มหาวิทยาลัย รับการตรวจประเมินจากภายนอก

การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก ตามระบบ สมศ. 1. เพื่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยให้สถานศึกษาประเมินตนเองอย่างแม่นยำ ทั้งในสายตาของตนเอง (SAR) และในสายตาของรัฐบาล จากนักวิชาการและสาธารณชนซึ่งแทนโดย สมศ. (EAR=External Assessment Report) เป็นการประเมินภายนอกรอบ 1 (2543-2548) 2. การประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อพัฒนาโดยการรับรองมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการประเมินภายนอกรอบ 2 (2549-2553) 3. การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนา โดยการจัดระดับ (Rating) และ/หรือจัด อันดับ (Ranking)

7 มาตรฐาน ของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 7 มาตรฐาน ของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

น้ำหนักที่มหาวิทยาลัยฯพิจารณา มาตรฐาน น้ำหนัก น้ำหนักที่มหาวิทยาลัยฯพิจารณา 1. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต อย่างน้อย 20 35 2. มาตรฐานด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 3. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 20 4. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม อย่างน้อย 10 10 รวมมาตรฐาน 1-4 100 5. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร 6. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการ เรียนการสอน 7. มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพ รวมมาตรฐาน 5-7 60

การแบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ตามพันธกิจ (ค่าน้ำหนักที่มหาวิทยาลัยกำหนดเอง) ผลิตบัณฑิตและวิจัย ผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม ผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ผลิตบัณฑิต

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญา- ตรีที่ได้งานทำและการประกอบ อาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ได้ทำงานตรง สาขาที่สำเร็จการศึกษา

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่ได้เงินเดือน เริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์ 1.4 ระดับความพึงพอใจของ นายจ้าง ผู้ประกอบการ และ ผู้ใช้บัณฑิต

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.5 จำนวนนักศึกษา หรือศิษย์เก่าที่จบ การศึกษาไม่เกิน 3 ปี ที่ได้รับการ ประกาศเกียรติคุณยกย่อง ในด้าน วิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือด้านอื่นที่ เกี่ยวข้องกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.6 จำนวนวิทยานิพนธ์และงาน วิชาการ ของนักศึกษาที่ได้รับ รางวัลในระดับชาติ หรือ ระดับ นานาชาติ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.7 ร้อยละของจำนวนบทความจาก วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ ปริญญาโท

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.8 ร้อยละของจำนวนบทความจาก วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ 2.1 ร้อยละของจำนวนงานวิจัย และ งานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรือ นำไปใช้ประโยชน์ทั้ง ในระดับชาติหรือ ระดับ นานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ ประจำ

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ 2.2 จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และ งานสร้างสรรค์จากภายใน สถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ 2.4 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จาก ภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ ประจำ 2.5 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุน ทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จาก ภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ ประจำ

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการวิจัยและ งานสร้างสรรค์ 2.6 จำนวนผลงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียน ทรัพย์สินทางปัญญา หรือ อนุสิทธิบัตรต่อจำนวนอาจารย์- ประจำ ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา

มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 3.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรม/ โครงการบริการวิชาการและ วิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ และพัฒนา/และเสริมสร้างความ เข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และ นานาชาติ ต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ

มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 3.2 ร้อยละของจำนวนอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการ-วิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 3.3 มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย 3.4 ค่าใช้จ่าย และมูลค่าในการบริการ วิชาการเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ

มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะ และวัฒนธรรม มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะ และวัฒนธรรม 4.1 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมในการ อนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริม เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม ต่อ จำนวนนักศึกษา 4.2 ค่าใช้จ่าย และมูลค่าที่ใช้ในการ อนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริม เอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรม

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร 5.1 สภาสถาบัน และผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถสะท้อนถึงนโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมายของการบริหารจัดการที่ดี มีการบริหารแบบมีส่วนร่วม เน้นการกระจาย อำนาจ โปร่งใส และตรวจสอบได้ รวมทั้งมีความสามารถในการผลักดันสถาบันให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร 5.2 การบริหารและพัฒนาสู่องค์การเรียนรู้ 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 5.4 การใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก สถาบันร่วมกัน 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการ บริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร 5.6 สินทรัพย์ถาวรต่อนักศึกษา เต็ม เวลาเทียบเท่า 5.7 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเท่า 5.8 ร้อยละเงินเหลือจ่ายสุทธิต่อรายรับ ทั้งหมด

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร 5.9 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วม ประชุมวิชาการ หรือนำเสนอผลงาน วิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ 5.10 งบประมาณสำหรับการพัฒนาความรู้ คณาจารย์ ทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริหารและพัฒนาองค์การและบุคลากร 5.11 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุน ประจำที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และ ทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศ และต่างประเทศ

มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานการบริหารหลักสูตรและ การเรียนการสอน มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานการบริหารหลักสูตรและ การเรียนการสอน 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อ หลักสูตรทั้งหมด (มีแบบฟอร์มตรวจสอบ) 6.2 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ 6.3 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิ ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า 6.4 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรง ตำแหน่งทางวิชาการ

มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานการบริหารหลักสูตรและ การเรียนการสอน มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานการบริหารหลักสูตรและ การเรียนการสอน 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารย์ (Professional Ethics) 6.6 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญและส่งเสริมการสร้าง ประสบการณ์จริง 6.7 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ ประสิทธิภาพการสอนของคณาจารย์

มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานการบริหารหลักสูตรและ การเรียนการสอน มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานการบริหารหลักสูตรและ การเรียนการสอน 6.8 ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาเมื่อเทียบกับ จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ทั้งหมด 6.9 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบ ห้องสมุด คอมพิวเตอร์และ ศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา

มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพ มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพ 7.1 มีระบบกลไกในการประกันคุณภาพ ภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพ ภายใน

หลักการ ประเมินในระดับสถาบัน ประเมินระดับกลุ่มสาขาวิชา

ความสำคัญของ SAR ปีการศึกษา 2548 ใช้ในการจัดอันดับคณะ & จัดอันดับมหาวิทยาลัย

ความสำคัญของ SAR ปีการศึกษา 2548 เป็นความรับผิดชอบของคณะและภาควิชา ที่ต้องจัดหาหลักฐานให้ครบถ้วน วันที่รับการตรวจรับรองมาตรฐาน โดย สมศ. ให้ทุกภาควิชานำ RD และหลักฐานต่างๆ ไปจัดให้เป็นระบบไว้ที่ คณะ เพื่อให้ สมศ. ตรวจ

ส่วนประกอบของ SAR ปก คำนำ สารบัญ ส่วนนำ ส่วนสำคัญ ส่วนสรุป ภาคผนวก

ปก ใส่ชื่อคณะ หรือ ภาควิชา หรือ บัณฑิตศึกษา โดยตัด คำที่ไม่ต้องการออก รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ของ ภาควิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คำนำ เขียนชื่อหน่วยงานโดยตัดคำที่ไม่ต้องการออก ลงลายมือชื่อผู้บริหารหน่วยงาน ชื่อ-นามสกุลเต็มผู้บริหารหน่วยงาน พร้อมตำแหน่ง

สารบัญ ใส่เลขหน้า...

ส่วนนำ กรอกรายละเอียดของหน่วยงาน... ผังโครงสร้างองค์กรโครงสร้างบริหารงาน ปรับให้ตรงกับความจริง เพราะที่ให้ไว้เป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น....

ส่วนนำ การติดตามผลการพัฒนาและปรับปรุงครั้งที่ผ่านมา... ให้กรอกโครงการ/กิจกรรมที่ทำเพื่อแก้ไขจุดอ่อนหรือทำเพื่อเสริมจุดแข็ง ของปีการศึกษาก่อน.... มาใส่ และระบุผลการดำเนินการว่า ยังไม่ทำ กำลังทำ หรือทำเสร็จแล้ว...

ส่วนสำคัญ... การประเมินตนเอง 1. การประเมินตนเองตาม ตัวบ่งชี้ 9 องค์ประกอบ 24 ตัวบ่งชี้ 2. การประเมินตนเองตาม ตัวบ่งชี้ 7 มาตรฐาน 43 ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ประเมิน ปรับจาก 5 ระดับ เป็น 7 ระดับ

เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่เน้นด้าน ระบบกลไกและกระบวนการ จะใช้วงจรของเดมมิ่ง PDCA เป็น เกณฑ์ประเมิน ส่วนใหญ่ใน 9 องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ที่เน้นด้าน ผลิตผล หรือ ผลลัพธ์ ใช้จำนวน หรือ ปริมาณ หรือ ค่าร้อยละ เป็นเกณฑ์การประเมิน ส่วนใหญ่ใน 7 มาตรฐาน

ตัวอย่าง องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวอย่าง องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 6.1 นโยบาย แผนงาน และการดำเนินงาน มีการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมแต่ไม่ได้บรรจุอยู่ในแผนดำเนินงาน มีนโยบาย/แผนดำเนินงานงานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และมีการกำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินงาน มี (2) + หลักฐานการดำเนินงานตามแผนฯ มี (3) + มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและประเมินผลการดำเนินงาน มี (4) + มีการปรับปรุงแผนหรือการดำเนินงานตามผลการประเมิน มี (4) + มีกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมจัดร่วมกับชุมชน/หน่วยงานภายนอก (7) มี (4) + มีกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมระดับชาติ/ ระดับนานาชาติ

ตัวอย่าง มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวอย่าง มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้ทำงาน ตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา (1) ต่ำกว่าร้อยละ 15 (2) ร้อยละ 15 - 28 (3) ร้อยละ 29 - 42 (4) ร้อยละ 43 - 56 (5) ร้อยละ 57 - 70 (6) ร้อยละ 71 - 84 (7) ร้อยละ 85 ขึ้นไป

การกรอกผลการดำเนินงาน ให้เติมชื่อหน่วยงาน ให้ ตัดข้อความ หรือ เติมข้อความเพิ่มเติม ตามที่หน่วยงานดำเนินการถึงเกณฑ์การประเมินขั้นนั้นๆ (ระดับคะแนน 1 ถึง 7) ใส่ระดับคะแนนที่หน่วยงานประเมินตนเอง (ระดับคะแนน 1 ถึง 7) โดยดูตามหลักฐานว่าหน่วยงานทำถึงขั้นใด ใส่เป้าหมายคะแนนที่หน่วยงาน ต้องการไปถึง (ระดับคะแนน 1 ถึง 7)

วิเคราะห์จุดอ่อน-จุดแข็ง แนวทางแก้ไข/แนวทางเสริม

ส่วนสรุป... สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ 9 องค์ประกอบ 24 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ 9 องค์ประกอบ 24 ตัวบ่งชี้ นำผลการประเมินตนเอง(ระดับคะแนน) ของแต่ละตัวบ่งชี้มาใส่ หาค่าเฉลี่ยในแต่ละองค์ประกอบ และนำมาเฉลี่ยรวมทั้ง 9 องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ 7 มาตรฐาน 43 ตัวบ่งชี้ นำผลการประเมินตนเอง(ระดับคะแนน) ของแต่ละตัวบ่งชี้มาใส่ หาค่าเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐาน และนำมาเฉลี่ย รวมทั้ง 7 มาตรฐาน

ส่วนสรุป... สรุปจุดอ่อน-แนวทางแก้ไข สรุปจุดแข็ง-แนวทางเสริม กรอกแผนพัฒนา/ปรับปรุง ในปีการศึกษาต่อไป ว่าจะทำอะไรเพื่อแก้ไขจุดอ่อน/เสริมจุดแข็ง

ภาคผนวก 1 ข้อมูลและสถิติ ที่ต้องกรอก เช่น : จำนวนอาจารย์ จำนวนบุคลากรและเจ้าหน้าที่สนับสนุนการศึกษา จำนวนนักศึกษา จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา จำนวนห้องปฏิบัติการ ตำรา เอกสารคำสอน เอกสารประกอบการสอน

ภาคผนวก 1 ข้อมูลและสถิติ ที่ต้องกรอก เช่น : การเป็นกรรมการวิชาการ/วิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอก การเป็นวิทยากรให้หน่วยงานภายนอก เป็นข้อมูลที่นำมาจาก E-Portfolio ของอาจารย์และเจ้าหน้าที่

ภาคผนวก 2 E-Department Portfolio เช่น จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำ บัณฑิตที่สร้างชื่อเสียง โครงการบริการวิชาการ กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ปฐมนิเทศ ปัจฉิมนิเทศ ฯ โครงการการบริการวิชาการแก่สังคม กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ปฐมนิเทศ ปัจฉิมนิเทศ แนะแนวอาชีพ โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นข้อมูลการทำงานของหน่วยงานในภาพรวมไม่ใช่ รายบุคคล

ภาคผนวก 3 หลักฐานของการประเมินตนเอง RD ที่เก็บไว้ที่หน่วยงาน เพื่อใช้ในการรับตรวจประเมิน

ข้อเสนอแนะในการจัดทำ รายงานการประเมินตนเอง SAR Download แบบฟอร์ม SAR 2548 ทางอินเตอร์เน็ต ที่ www.qao.mut.ac.th กรอกภาคผนวก 1 ข้อมูลและสถิติ กรอกภาคผนวก 2 E-Department Portfolio ตรวจสอบหลักฐานของหน่วยงานว่าทำไปถึงระดับคะแนนใดในเกณฑ์ประเมิน กรอกระดับคะแนนการประเมินตนเอง 6. กรอกเป้าหมายที่ต้องการไปให้ถึง 7. กรอกผลการดำเนินงาน ฯลฯ

ข้อเสนอแนะในการรวบรวมข้อมูล ให้ผู้บริหารสาขาวิชากระจายงานให้อาจารย์ในหน่วยงานรับผิดชอบรวบรวมข้อมูลตามตัวบ่งชี้ 7 มาตรฐานของ สมศ. แล้วจึงลงมือกรอก SAR

สิ่งที่ต้องส่ง SAR + ภาคผนวก 1 + ภาคผนวก 2 แบบฟอร์มกรอกข้อมูลพื้นฐานการประเมินรอบ 2 ของ สมศ. (เฉพาะหน่วยงานผลิตบัณฑิต)

กำหนดการ หน่วยงานจัดการเรียนการสอน ส่ง SAR ภายใน 30 พฤษภาคม 2549 ภายใน 25 พฤษภาคม 2549 ส่งเป็นเอกสาร (Hard copy) พร้อม file กำหนดการตรวจประเมินภายใน (SAR ) 1 - 30 มิถุนายน 2549 สมศ. กำหนดตรวจรับรองมาตรฐาน กรกฎาคม 2549

ขอความร่วมมือให้ผู้บริหารหน่วยงาน การรับการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระหว่างวันที่ 1 – 30 มิถุนายน 2549 ขอความร่วมมือให้ผู้บริหารหน่วยงาน ทุกคนอยู่รับการตรวจ กับคณะผู้ตรวจประเมินภายใน ทั้งนี้ เพื่อเป็นซักซ้อมสำหรับ การรับการตรวจเพื่อรับรอง มาตรฐาน จาก สมศ. ใน เดือนกรกฎาคม 2549

ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง จาก สำนักประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร