หลักการทำงานคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 ส่วนพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ คือ ซอฟแวร์ และ ฮาร์ดแวร์  ซอฟแวร์จะเกี่ยวข้องกับโปรแกรม คอมพิวเตอร์ซึ่งมีโปรแกรมหลักเรียกว่า ซอฟแวร์ระบบ และระบบปฎิบัติการที่สัมพันธ์
Advertisements

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Central Processing Unit
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
1.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
HARDWA RE อุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน ที่ประกอบเป็น คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
“หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์"
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
EDO RAM นางสาวชุติมา พุ่มพฤกษ์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการทำงานคอมพิวเตอร์

การทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยหลักๆแล้วการทำงานมี 3 ขั้นตอน คือ . การทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยหลักๆแล้วการทำงานมี 3 ขั้นตอน คือ 1.Input (หน่วยรับข้อมูล) 2.Process(หน่วยประมวลผล) 3.Output (หน่วยแสดงผลลัพธ์ของข้อมูล) 4.Memory (หน่วยความจำ)

ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ Process Input Output รับข้อมูลเข้า ประมวลผลข้อมูล ส่งออกเป็น ผลลัพธ์ Memory

หน่วยประมวลผล (Central Processing Unit : CPU) หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตาม โดยคำสั่งพื้นฐานของ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง

(Central Processing Unit : CPU) เป็นการรับข้อมูลมา คิดวิเคราะห์ จาก หน่วยความจำ เมื่อ ประมวลผล หรือคิดคำนวณหาผลต่างๆได้และ จึงจะส่งต่อไปยัง Output โดยขั้นตอนนี้มีความสำคัญ เปรียบได้กับ “สมอง” ของคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลการจาก คีย์บอร์ด ที่พิมพ์มา 10+10 หน่วยประมวลผลรับจะข้อมูล 10+10 มาหาคำตอบ เมื่อได้คำตอบ หน่วยประมวลผล จะนำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงผล ออก ทาง Output

หน่วยประมวลผล (Central Processing Unit : CPU) แบ่งการทำงานได้ 3 หน่วย 1.หน่วยควบคุม (Control Unti)              ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำของซีพียู ควบคุมกลไกการทำงาน ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณนาฬิกา เป็นตัวกำหนดจังหวะการทำงาน

2. หน่วยคำนวณ (ALU: Arithmetic and logic unit )              เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นำเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข เป็นต้นการคำนวณทำได้เร็วตามจังหวะการควบคุม ของหน่วยควบคุม

3.หน่วยความจำ (Memory) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล  เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้มาจากการประมวลผลแล้ว เพื่อเตรียม ส่งไปยังหน่วยแสดงผล เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ทำงานได้รวดเร็วที่สุด ซึ่งสามารถจำแนก ตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ประเภท

1.หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หน่วยความจำภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ ถึงจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่สูญหายไป

แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ ชนิดนี้จะหายไปทันที

หน่วยความจำรอง (Secondary Memory) เป็นหน่วยความจําที่สามารถรักษาข้อมูลได้ หลังจากที่ได้ทําการ ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยความจํารองมีประโยชน์ต่อระบบฐานข้อมูลเป็นอย่างมาก ถ้าปราศจากหน่วยความจํารองแล้วเราจะไม่สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ใช้ได้ในอนาคต

การทำงานของหน่วยความจำสำรอง CPU หน่วยควบคุม ALU ข้อมูลเข้า แสดงข้อมูลออก หน่วยความจำหลัก เรียกใช้ บันทึกข้อมูล ความจำสำรอง