พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
ลักษณะของครูที่ดี.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
สิทธิเด็ก เดินหน้า.
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
เครื่อข่ายเชื่อมโยงการเรียนรู้
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
เรื่อง สถาบันการศึกษา
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ต่อคุณลักษณะและความสามารถ ในการทำงานของบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จากรายงานวิจัยสถาบันเรื่องการติดตามผลบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
8 คุณธรรมพื้นฐาน.
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
Ombudsman Talk.
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
My school.
รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ครั้งที่ ๒.
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ความเป็นครู.
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
กิจกรรม อชท. 1/2554 ระหว่างวันที่ สิงหาคม และ 1 กันยายน พ. ศ.2554 จัดทำโดย นักศึกษาแผนกช่าง กลโรงงาน ห้อง พิเศษเทคนิคการผลิต 401 ( พผ.401)
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย บทที่ 7 พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย

พลเมืองดี พลเมืองดี หมายถึง ประชาขนที่ปฏิบัติตนตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น

ความสำคัญ พลเมืองดีเป็นองค์ประกอบของสังคมไทย เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้า การเป็นพลเมืองดีย่อมต้องปฏิบัติตามบรรทัดฐานและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม มีคุณธรรมเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตด้วย

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาให้เป็นพลเมืองดี เพื่อให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม เพื่อปลูกฝังทักษะการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น เพื่อปลูกฝังระเบียบวินัย เพื่อให้มีทัศนคติที่ดีต่อสังคม

พลเมืองดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ พลเมืองดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ มีคุณสมบัติพื้นฐาน เช่น มีความขยัน หมั่นเพียร มานะอดทน ซื่อสัตย์ กตัญญูกตเวที ตรงต่อเวลา รู้หน้าที่ มีความรับผิดชอบ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีคุณสมบัติเฉพาะ เช่น บริหารจัดการเก่ง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ มีความสามารถทางภาษาอังกฤษ และมีการวิจัยค้นคว้าเพื่อพัฒนางานต่างๆ

หน้าที่ของพลเมืองดี รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำหนดหน้าที่ของชนชาวไทยไว้ ดังนี้ 1. บุคคลมีหน้าที่รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. บุคคลมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย 3. บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง 4. บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ 5. สืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ 6. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ค่านิยมพื้นฐานของพลเมืองดี การพึ่งพาตนเอง ความขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ ประหยัด และเก็บออม มีระเบียบ เคารพกฎหมาย มีคุณธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

พระบรมราโชวาทคุณธรรมสี่ประการ การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะประพฤติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกตนเองให้อยู่บนความสัจจริง การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริต รู้จักละเว้นความชั่ว ความทุจริต และรู้จักรักษาประโยชน์ส่วนน้อยเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

พลเมืองดีต้องได้รับการปลูกฝังสิ่งดีงาม สถาบันทางสังคมทุกสถาบันต้องร่วมกันอบรม ปฏิบัติตนในฐานะเป็นพลเมืองไทย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ สอนให้รู้จักและปฏิบัติตนตามสถานภาพและบทบาทของตนเอง รับฟังผู้อื่น เคารพกฎหมาย

ภาระ หมายถึง หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ หน้าที่ หมายถึง กิจที่ต้องทำตามสถานภาพที่ได้รับ ภาระหน้าที่ ถูกกำหนดโดยปัจจัย 4 อย่าง คือ สถานภาพ บรรทัดฐานของสังคม จารีตประเพณี หลักพุทธศาสนา

ทิศ 6

การปลูกฝังความเป็นพลเมืองดีตามประเพณีไทย เคารพผู้อาวุโส ชายช่วยเหลือและให้เกียรติหญิง กตัญญูกตเวที หญิงต้องเป็นกุลสตรี รู้จักให้อภัย ชายต้องเป็นผู้นำ มีจิตเป็นกุศล ไม่ทำตามใจตนเอง รู้จักฐานะตน

การส่งเสริมให้เป็นพลเมืองดี ส่งเสริมระดับครอบครัว ส่องเสริมระดับโรงเรียน ส่งเสริมระดับชุมชน