บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ลักษณะของครูที่ดี.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
8 คุณธรรมพื้นฐาน.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คุณเป็นคนที่มีอุดมการณ์หรือไม่ ???
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
Ombudsman Talk.
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
การเงินส่วนบุคคลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
GO!!.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย

ค่านิยมของสังคมไทย ค่านิยม ( Values) ของสังคมไทย หมายถึง สิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะได้หรือจะเป็น “วิถีของการจัดรูปความประพฤติ” ที่มีความหมายต่อบุคคล เป็นแบบฉบับของความคิดที่มีคุณค่าสำหรับยึดถือในการปฏิบัติตัวของคนในสังคม

ความหมายของค่านิยม ค่านิยม เป็นแนวความคิด ความเชื่อ เป็นอุดมการณ์ เป็นความต้องการของกลุ่มคนในสังคมซึ่งยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ดี มีคุณค่าควรแก่การนำไปปฏิบัติ เป็นกรอบของการดำเนินชีวิตเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม

ลักษณะของค่านิยม กำหนดการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคม สมาชิกในสังคมยึดถือมานาน ค่านิยมที่ยึดถือนั้นเป็นความต้องการของคนในสังคม สมาชิกในกลุ่มให้การยอมรับ

ชนิดของค่านิยม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ค่านิยมวิถีปฏิบัติ คือค่านิยมที่เป็นแนวทางในการปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ ค่านิยมด้านจริยธรรม ค่านิยมสร้างตน ค่านิยมปลายทาง เป็นค่านิยมที่แสดงถึงจุดหมายปลายทางของชีวิต แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ ค่านิยมส่วนบุคคล ค่านิยมส่วนสังคม

ค่านิยมของสังคมไทยในอดีต ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา เชื่อโชคลาง เชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม ต้องการเป็นที่ยอมรับของสังคม เชื่อในเรื่องวิญญาณ ยึดมั่นในจารีตประเพณี ยกย่องระบบศักดินา นิยมการมีอำนาจบารมี เคารพผู้อาวุโส พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ชีวิตขึ้นอยู่กับธรรมชาติ พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่

ค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา แก่งแย่งชิงดีชิงเด่น เทิดทูนพระมหากษัตริย์ นิยมการบริโภค เชื่อในเรื่องเหตุผล ทำงานแข่งกับเวลา การศึกษาหาความรู้ นิยมภาษาต่างชาติ ชอบอิสะ นิยมความร่ำรวย มีความเสมอภาค เชื่อมั่นในตนเอง ทดลองอยู่ก่อนแต่งงาน

ค่านิยมทั่วไปของสังคมไทย ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา กตัญญูรู้คุณ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ นิไม่ตรงต่อเวลา นับถือเงินตรา ขาดความอดทน ขาดระเบียบวินัย ชอบงานพิธี เคารพผู้อาวุโส ชอบโฆษณา ของแจก รักความสนุก ชอบต่อรอง

ค่านิยมของสังคมเมืองและสังคมชนบท ค่านิยมสังคมเมือง นิยมวัตถุ ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ชอบความหรูหรา นิยมใช้สินค้าต่างประเทศ มีการแข่งขันกันมาก เห็นแก่ตัว มีหลักการและเหตุผล ยกย่องเงินและอำนาจ ขาดระเบียบวินัย ชอบเสี่ยงโชค ร่วมพิธีกรรมทางศาสนาน้อย ค่านิยมสังคมชนบท นิยมคุณความดี ประหยัด เศรษฐกิจพอเพียง นิยมใช้สินค้าไทย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ เห็นแก่ส่วนรวม เชื่อเรื่องโชคลาง ยกย่องคนดี พึ่งพาอาศัยกัน ชอบเล่นการพนัน ร่วมพิธีกรรมทางศาสนามาก

ค่านิยมพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรม การวัฒนธรรมแห่งชาติ 1. การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ 2. การประหยัดและอดออม 3. การมีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย 4. การปฏิบัติตนตามคุณธรรมของศาสนา 5. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ค่านิยมที่ควรปลูกฝังในสังคมไทย มี 10 ประการ คือ 6. มีความประหยัด อดออม 1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 7. มีน้ำใจไมตรี แสดงความมีน้ำใจ 2. การนิยมความเป็นไทย ภูมิใจไทยทำ 8. มีสัมมาคารวะ รู้จักกาลเทศะ เคารพผู้อาวุโส 3. ความขยันและอดทน 4. มีความซื่อสัตย์สุจริต 9. ยกย่องผู้กระทำความดี ยกย่องคนดี 5. มีความกตัญญูกตเวที 10. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ค่านิยมที่ควรแก้ไขในสังคมไทย มี 10 ประการ คือ ยกย่องผู้มีเงินและมีอำนาจ เชื่อเรื่องโชคลางและเล่นการพนัน การนิยมใช้สินค้าต่างประเทศ ฟุ่มเฟือยหรูหรา ชอบทำงานเป็นเล่น ทำเล่นเป็นงาน รักความสนุกสนานและความสบาย เชื่อเรื่องบุญกรรม ไม่ตรงต่อเวลา ไม่รู้หน้าที่ ไม่มีความรับผิดชอบ พูดมากกว่าทำ ขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน หน้าใหญ่ใจโต และจมไม่ลง

การสร้างค่านิยมให้กับเยาวชน สถาบันครอบครัว พ่อแม่ควรปลูกฝังค่านิยมที่ดี ให้แก่เยาวชน สถาบันการศึกษาให้การอบรมสั่งสอนในด้านความรู้ คิดเป็น ทำเป็น มีจริยธรรม ให้เยาวชนรู้จักใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหาด้วย เหตุผลแห่งความถูกต้อง