บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ค่านิยมของสังคมไทย ค่านิยม ( Values) ของสังคมไทย หมายถึง สิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะได้หรือจะเป็น “วิถีของการจัดรูปความประพฤติ” ที่มีความหมายต่อบุคคล เป็นแบบฉบับของความคิดที่มีคุณค่าสำหรับยึดถือในการปฏิบัติตัวของคนในสังคม
ความหมายของค่านิยม ค่านิยม เป็นแนวความคิด ความเชื่อ เป็นอุดมการณ์ เป็นความต้องการของกลุ่มคนในสังคมซึ่งยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ดี มีคุณค่าควรแก่การนำไปปฏิบัติ เป็นกรอบของการดำเนินชีวิตเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม
ลักษณะของค่านิยม กำหนดการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคม สมาชิกในสังคมยึดถือมานาน ค่านิยมที่ยึดถือนั้นเป็นความต้องการของคนในสังคม สมาชิกในกลุ่มให้การยอมรับ
ชนิดของค่านิยม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ค่านิยมวิถีปฏิบัติ คือค่านิยมที่เป็นแนวทางในการปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ ค่านิยมด้านจริยธรรม ค่านิยมสร้างตน ค่านิยมปลายทาง เป็นค่านิยมที่แสดงถึงจุดหมายปลายทางของชีวิต แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ ค่านิยมส่วนบุคคล ค่านิยมส่วนสังคม
ค่านิยมของสังคมไทยในอดีต ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา เชื่อโชคลาง เชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม ต้องการเป็นที่ยอมรับของสังคม เชื่อในเรื่องวิญญาณ ยึดมั่นในจารีตประเพณี ยกย่องระบบศักดินา นิยมการมีอำนาจบารมี เคารพผู้อาวุโส พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ชีวิตขึ้นอยู่กับธรรมชาติ พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่
ค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา แก่งแย่งชิงดีชิงเด่น เทิดทูนพระมหากษัตริย์ นิยมการบริโภค เชื่อในเรื่องเหตุผล ทำงานแข่งกับเวลา การศึกษาหาความรู้ นิยมภาษาต่างชาติ ชอบอิสะ นิยมความร่ำรวย มีความเสมอภาค เชื่อมั่นในตนเอง ทดลองอยู่ก่อนแต่งงาน
ค่านิยมทั่วไปของสังคมไทย ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา กตัญญูรู้คุณ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ นิไม่ตรงต่อเวลา นับถือเงินตรา ขาดความอดทน ขาดระเบียบวินัย ชอบงานพิธี เคารพผู้อาวุโส ชอบโฆษณา ของแจก รักความสนุก ชอบต่อรอง
ค่านิยมของสังคมเมืองและสังคมชนบท ค่านิยมสังคมเมือง นิยมวัตถุ ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ชอบความหรูหรา นิยมใช้สินค้าต่างประเทศ มีการแข่งขันกันมาก เห็นแก่ตัว มีหลักการและเหตุผล ยกย่องเงินและอำนาจ ขาดระเบียบวินัย ชอบเสี่ยงโชค ร่วมพิธีกรรมทางศาสนาน้อย ค่านิยมสังคมชนบท นิยมคุณความดี ประหยัด เศรษฐกิจพอเพียง นิยมใช้สินค้าไทย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ เห็นแก่ส่วนรวม เชื่อเรื่องโชคลาง ยกย่องคนดี พึ่งพาอาศัยกัน ชอบเล่นการพนัน ร่วมพิธีกรรมทางศาสนามาก
ค่านิยมพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรม การวัฒนธรรมแห่งชาติ 1. การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ 2. การประหยัดและอดออม 3. การมีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย 4. การปฏิบัติตนตามคุณธรรมของศาสนา 5. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ค่านิยมที่ควรปลูกฝังในสังคมไทย มี 10 ประการ คือ 6. มีความประหยัด อดออม 1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 7. มีน้ำใจไมตรี แสดงความมีน้ำใจ 2. การนิยมความเป็นไทย ภูมิใจไทยทำ 8. มีสัมมาคารวะ รู้จักกาลเทศะ เคารพผู้อาวุโส 3. ความขยันและอดทน 4. มีความซื่อสัตย์สุจริต 9. ยกย่องผู้กระทำความดี ยกย่องคนดี 5. มีความกตัญญูกตเวที 10. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ค่านิยมที่ควรแก้ไขในสังคมไทย มี 10 ประการ คือ ยกย่องผู้มีเงินและมีอำนาจ เชื่อเรื่องโชคลางและเล่นการพนัน การนิยมใช้สินค้าต่างประเทศ ฟุ่มเฟือยหรูหรา ชอบทำงานเป็นเล่น ทำเล่นเป็นงาน รักความสนุกสนานและความสบาย เชื่อเรื่องบุญกรรม ไม่ตรงต่อเวลา ไม่รู้หน้าที่ ไม่มีความรับผิดชอบ พูดมากกว่าทำ ขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน หน้าใหญ่ใจโต และจมไม่ลง
การสร้างค่านิยมให้กับเยาวชน สถาบันครอบครัว พ่อแม่ควรปลูกฝังค่านิยมที่ดี ให้แก่เยาวชน สถาบันการศึกษาให้การอบรมสั่งสอนในด้านความรู้ คิดเป็น ทำเป็น มีจริยธรรม ให้เยาวชนรู้จักใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหาด้วย เหตุผลแห่งความถูกต้อง