Introduction to C Programming.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
หลังการประกอบเครื่อง บทที่ 8
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
องค์ประกอบของโปรแกรม
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
ฟังก์ชั่น function.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม Java
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word 2003
เรื่อง คีย์ลัดที่ควรทราบ จัดทำโดย ด. ช. ธีธัช สุวัณณวะยัคฆ์ ชั้น ม.2/4 เลขที่ 1 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
พื้นฐานการใช้งาน Microsoft Word 2007
Computer Programming for Engineers
Debugging in VC Computer Programming for Engineers.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ที่เมนู Start - All Programs - TURBO C++ V4.5 และ TURBO C++
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
SML Report Designer การออกแบบรายงาน.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
โครงสร้างข้อมูล(Data Structure)
และการทำงานกับตัวอักษร
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
introduction to Computer Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to C Programming

การทำงานของภาษาซี .C .obj .exe จัดทำโปรแกรมต้นฉบับ(Source Program) โดยบันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .c แปลงรหัสคำสั่งเป็นภาษาเครื่อง(Compile) ซึ่งจะได้ไฟล์นามสกุล . obj การเชื่อมโยงโปรแกรม(Link) เป็นการเชื่อมโยงโปรแกรมกับไลบรารี ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดไฟล์ .exe Source Code Compile Link .C .obj .exe

กระบวนการแปลรหัสของภาษาซี เขียนคำสั่ง Compile Link Run Test.c Test.obj Test.ilk Test.exe

รูปแบบโครงสร้างภาษาซี

#include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก Preprocessor Directive การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ variable declaration; การประกาศค่าตัวแปรแบบ Gobal main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก variable declaration; การประกาศค่าชนิดตัวแปรแบบ Local program statement; ส่วนคำสั่ง } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน จบโปรแกรม #include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก char name[15]; การประกาศค่าชนิดตัวแปร printf(“What your name”); scanf(“%s”,&name); } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน ส่วนของคำสั่ง

ไดเร็คทีฟ #include หมายถึง การสั่งให้คอมไพเลอร์นำสิ่งที่อยู่ในไฟล์ ซึ่งกำหนดไว้มารวมเข้ากับ Source Code ในที่นี้จะเป็นการนำสิ่งที่อยู่ในไฟล์ stdio.h มารวมกับ Source Code หมายเหตุ ถ้าไดเร็คทีพ #include ไม่มี <stdio.h> โปรแกรมจะ error และ Compile ไม่ผ่าน

ไลบราลีฟังก์ชัน <stdio.h> เป็นการบอกถึงฟังก์ชันมาตรฐานบน input/output ที่จะนำเข้ามารวมกัน โดยบอกไว้ที่ส่วนต้นของไฟล์โปรแกรม ไลบราลีฟังก์ชัน <conio.h> ไลบราลีฟังก์ชัน <conio.h> เป็นไฟล์ที่บอกถึงการรวมเอาฟังก์ชันเกี่ยวกับคอนโซลไว้ใช้

การเรียกใช้ฟังก์ชัน main() ฟังก์ชันหลัก การเรียกใช้ฟังก์ชัน main() ถ้า main ไม่มี เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อท้าย จะไม่ถือว่าเป็นฟังก์ชัน และจะเกิดข้อผิดพลาดในขั้นตอน Link

C PROGRAMMING

เข้าสู่โปรแกรม Turbo C ทำได้ 2 วิธี 1. My computer  D: TC TC 2. Start Run พิมพ์ cmd พิมพ์ d: แล้วกด Enter แล้วพิมพ์ D:tc/Tc

หน้าจอประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ 4 ส่วน คือ 1 เมนเมนู (Main Menu) ได้แก่ส่วนที่อยู่บรรทัดบนสุด ซึ่งเป็นรายการคำสั่งต่าง ๆ ได้แก่ File Edit ฯลฯ เป็นต้น 2. ส่วนของ Edit คือบริเวณที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมใหญ่ ใช้สร้างและแก้ไขโปรแกรม หรือเรียกว่า พื้นที่เขียนโปรแกรมหน้าต่างเอดิต 3. ส่วนของ Message คือบริเวณที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ใช้แสดงข้อความต่าง ๆ เมื่อเกิดการผิดพลาดขึ้นในขณะที่เกิดการคอมไพล์หรือลิงก์โปรแกรม 4. ส่วนของฟังก์ชันคีย์ คือส่วนที่อยู่ล่างสุดเป็นปุ่มที่ทำหน้าที่ต่าง ๆ ของฟังก์ชันคีย์ที่มีอยู่ใน เทอร์โบ C จากนั้นกดคีย์ใด ๆ ก็ได้จะปรากฏ ดังนี้

รายละเอียดของข้อความต่าง ๆ ที่ส่วนบนของหน้าต่างมีดังนี้ Line 1 แสดงบรรทัดที่เคอร์เซอร์อยู่ บรรทัดที่ 1 Col 1 แสดงคอลัมน์ที่เคอร์เซอร์อยู่ คอลัมน์ที่ 1 Insert ถ้าขึ้นข้อความนี้ (Insert) แสดงว่าอยู่ในภาวะ Insert on จะสามารถพิมพ์แทรกตัวอักษรที่ตำแหน่งเคอร์เซอร์อยู่ได้ ถ้ากดคีย์ Insert บนคีย์บอร์ดที่หน้าจอข้อความ Insert จะหายไปสภาวะนี้เป็น Insert off การพิมพ์จะเป็นการพิมพ์ทับตัวอักษร ถ้าหากต้องการให้เป็น Insert on ต้องกดคีย์ Insert ที่คีย์บอร์ดอีกครั้ง Indent ถ้าขึ้นข้อความนี้บนหน้าจอแสดงว่าหลังจากพิมพ์ข้อความเสร็จแล้วกด Enter เคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่ให้ และถ้ากดคีย์ Ctrl+OI จะทำให้ข้อความ Indent หายไปเคอร์เซอร์จะอยู่ที่ คอลัมน์ที่ 1 ของบรรทัดเดิม

Tab ถ้าปรากฏข้อความนี้แสดงว่าถ้ากดคีย์ Tab จะทำให้เคอร์เซอร์เลื่อนไปทางขวา 8 คอลัมน์ ถ้ายกเลิกสถานะนี้กดคีย์ Ctrl+OT ถ้ากดคีย์ Ctrl+OT อีกครั้งข้อความ Tab จะปรากฏที่หน้าจอีก Unindent ถ้าขึ้นข้อความนี้ถ้าหากเคอร์เซอร์อยู่ที่บรรทัดใหม่ ถ้ากดคีย์ Backspace บนคีย์บอร์ด เคอร์เซอร์จะเลื่อนมาทางซ้าย 1 ย่อหน้าเสมอ ถ้ากดคีย์ Ctrl+OU ข้อความ Unindent จะหายไป ในสภาวะนี้ Backspace จะเป็นการลบตัวอักษร ที่อยู่ทางซ้ายของเคอร์เซอร์ และถ้ากดคีย์ Ctrl+OU ซ้ำจะทำให้ ข้อความ Unindent ปรากฏที่หน้าจออีก D:NONAME.C เป็นชื่อไฟล์ชั่วคราวที่ Turbo C สร้างขึ้น สามารถเปลี่ยนชื่อไฟล์ได้ ถ้าบันทึกเป็นชื่อใหม่

ขั้นตอนการใช้งาน 1. เมื่อเข้าสู่โหมดการทำงานของภาษาซี กด Esc เพื่อเข้าสู่โหมดการเลือกใช้คำสั่ง หรือกด F10

2. การสร้างไฟล์ใหม่ให้เลือกเมนู File New โดยโปรแกรม จะกำหนดชื่อเบื้องต้นเป็น Noname.c

3. การบันทึกให้เลือกเมนู File  Save หรือกดคีย์ลัด F2 ในกรณีที่บันทึกไฟล์ครั้งแรก ไฟล์ที่บันทึกได้จะมี Format (รูปแบบ นามสกุล) เป็น .C

4. การเปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไขให้เลือกเมนู File  Load หรือกดคีย์ลัด F3 แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการแก้ไข

5. การเปลี่ยนชื่อไฟล์ เลือกเมนู File  Write to ในกรณีที่ต้องการบันทึกชื่อไฟล์ใหม่ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์

6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code ( 6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code (.OBJ) โดยเลือกเมนู Compile Compile หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9

7. หากเกิด error ให้กด F6 เพื่อเข้าสู่โหมดการแก้ไข

8. ถ้า Compile ผ่าน จะปรากฏข้อความ ให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อทำงานต่อไป

9. การสร้าง .EXE เพื่อนำไปใช้งานให้เลือก Make EXE file

10. การรันโปรแกรม ให้เลือกเมนู Run Run หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9

11. เมื่อรันโปรแกรมเสร็จแล้วจะกลับเข้าสู่หน้าจอ Editor ซึ่งจะทำให้เราดูผลลัพธ์ไม่ทัน เลือกเมนู Run User screen

12. แสดงผลการ Run โปรแกรม เมื่อเลือกเมนู Run  User Screen หรือกดปุ่มคีย์ลัด Alt+F5