งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Week 2 Variables.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Week 2 Variables."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Week 2 Variables

2 Week 2 Introduction to C Programming
Outline 2.1 A Simple C Program: Printing a Line of Text 2.2 Another Simple C Program: Adding Two Integers 2.3 Memory Concepts 2.4 Arithmetic in C 2.5 Decision Making: Equality and Relational Operators

3 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด
2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 1 /* Fig. 2.1: fig02_01.c A first program in C */ 3 #include <stdio.h> 4 5 /* function main begins program execution */ 6 int main() 7 { printf( "Welcome to C!\n" ); 9 return 0; /* indicate that program ended successfully */ 11 12 } /* end function main */ Welcome to C! Comments ข้อความที่อยู่ระหว่างเครื่องหมาย /* และ */ คือ Comment เพื่อช่วยอธิบายการทำงานของโปรแกรม แต่ไม่มีผลกับการทำงาน #include <stdio.h> เป็นการระบุว่าโปรแกรมนี้ต้องมีการใช้ Header file ชื่อ stdio.h เพื่อให้โปรแกรมสามารถทำงานที่เกี่ยวกับ input/output มาตรฐานได้

4 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด
2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด int main() โปรแกรมภาษาซีจะต้องประกอบไปด้วย 1 ฟังก์ชันหรือมากกว่า และฟังก์ชันที่จะต้องให้มีทุกโปรแกรมคือ ฟังก์ชันชื่อว่า main เครื่องหมายวงเล็บจะตามหลังชื่อฟังก์ชัน int หมายถึงฟังก์ชัน main ทำการคืนค่า หรือ Return ค่าที่เป็นชนิดจำนวนเต็ม (integer) เครื่องหมาย Braces ({ และ }) เป็นการระบุขอบเขตของการทำงาน ในส่วนชุดคำสั่งของฟังก์ชันทุกฟังก์ชันจะต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } การประกาศฟังก์ชัน จะต้องมีวงเล็บตามหลังชื่อเสมอ ซึ่งในวงเล็บอาจจะว่างเปล่า หรือมีรายการของพารามิเตอร์ที่ฟังก์ชันต้องการใช้งานก็ได้

5 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด
2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด printf( "Welcome to C!\n" ); สั่งคอมพิวเตอร์ให้ทำงาน ในกรณีนี้จะเป็นการแสดงผลข้อความที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด (" ") บรรทัดหนึ่งเรียกว่า Statement ทุก Statement จะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย Semicolon (;) Escape character (\) เป็นการระบุให้ printf ทำบางสิ่งบางอย่างที่ไม่ปกติ เช่น \n คือการให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ไม่ใช่ให้แสดงผล \n ออกไปบนหน้าจอ โดยปกติแล้ว printf จะแสดงตัวอักษรที่ปรากฏระหว่าง “ และ “ ออกไปบนหน้าจอ แต่ถ้าต้องการทำอย่างอื่น ที่ไม่ใช่การแสดงตัวอักษร เช่น การขึ้นบรรทัดใหม่ ต้องอาศัย Escape character

6 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด
2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด

7 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด
2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด return 0; การสิ้นสุดการทำงาน และคืนค่า 0 โดยทั่วไปหมายถึงการทำงานเป็นปกติ Right brace } ระบุจุดสิ้นสุดของฟังก์ชัน main ฟังก์ชันทุกฟังก์ชัน ควรจะมีการคืนค่าเพื่อแสดงสถานะการทำงาน ว่าทำงานเสร็จสิ้นสมบูรณ์หรือไม่ เป็นที่ตกลงกันว่า ถ้าค่าที่คืนออกมาเป็น 0 แสดงว่าการทำงานไม่มีปัญหาอะไร

8 fig02_02.c Program Output Welcome to C!

9 fig02_03.c Program Output Welcome to C!

10 การประกาศตัวแปร (Variable Declaration)
ตัวแปรในภาษาซีแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตัวแปรพื้นฐานที่หมายถึงตัวแปรที่เก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียว และตัวแปรชุด คือ ตัวแปรที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้หลายค่าภายในตัวแปรตัวเดียว ซึ่งในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงแค่ตัวแปรพื้นฐาน ส่วนตัวแปรชุดจะเรียนในหัวข้อถัดไป

11 ชนิดของข้อมูลในภาษาซี (Data Type)
ข้อมูลที่มีการใช้งานในภาษาซี แบ่งออกเป็น 6 ชนิด คือ 1) ข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) 2) ข้อมูลชนิดตัวเลขทศนิยม (Float) 3) ข้อมูลชนิดเลขฐานแปด (Octal) 4) ข้อมูลชนิดเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) 5) ข้อมูลชนิดตัวอักขระ (Character) 6) ข้อมูลชนิดข้อความ (String)

12 ตัวแปรพื้นฐานในภาษาซีที่กำหนดตามมาตรฐาน ANSI C

13 รูปแบบการประกาศตัวแปร
ในภาษาซีมีรูปแบบการประกาศตัวแปร ดังนี้  ตัวอย่างการประกาศตัวแปร เช่น int num; float grade; หากต้องการประกาศตัวแปรหลายตัวชนิดเดียวกันก็สามารถทำได้ โดยการใช้เครื่องหมาย , คั่น เช่น int a,b,c; ระหว่าง type และ variable name จะต้องมีช่องว่างอย่างน้อยหนึ่งช่องเสมอ

14 นอกจากนี้ยังสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรไปพร้อมกับการประกาศตัวแปร เช่น
int num = 1; char ch = ‘#’, d = ‘D’; โดยหลักการตั้งชื่อตัวแปรมาใช้งานนั้น ควรคำนึงถึงว่าจะต้องตั้งให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของภาษาซี และ ควรจะตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับการทำงานหรือหน้าที่ของตัวแปรนั้นๆ เพราะเมื่อถึงเวลาต้องมาทำการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม จะสามารถทำได้โดยไม่ยากนัก การตั้งชื่อตัวแปร ให้ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์เล็กก็ได้ ตามด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ _ หรือ - ห้ามตั้งชื่อตัวแปรให้มีช่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์พิเศษอืน ๆ ชื่อตัวแปรนั้น ตัวภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ๋มีความความแตกต่างกัน ดังนั้น ch กับ CH จึงเป็นตัวแปรคนละตัวกัน

15 Format ที่ใช้บ่งบอกชนิดของตำแหน่ง (Place Holders) ที่จะมีการรับ/แสดงข้อมูล
ในการเขียนโปรแกรมนั้น เราจะต้องมีการใช่ Place Holders ในการรับข้อมูลจากผู้ใช้ (ผ่านคำสั่ง scanf) หรือแสดงข้อมูลต่อผู้ใช้(ผ่านคำสั่ง printf)โดยรูปแบบการใช้ Place Holders นั้น จะขึ้นอยู่กับชนิดของตัวแปร เช่น จากในตัวอย่าง คำสั่ง scanf รับพารามิเตอร์แรกเข้าไปคือ “%d” ซึ่งหมายถึงว่าคำสั่ง scanf จะรับค่าที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม (ดูตารางความหมายของ place holder ที่หน้าถัดไป) แล้วนำค่าที่รับได้ ไปใส่ในพารามิเตอร์ที่สอง คื &product_price (ต้องมี & นำหน้า) ส่วนคำสั่ง printf ก็แสดงข้อความ “oh! .. และเมื่อมันเจอ %d มันก็จะหาค่าตัวเลขมาแทนที่ตำแหน่งของ %d ด้วยค่าในตัวแปรถัดไปคือ product_price สมมัติว่าค่าใน product_price เป็น 50 ค่าที่จะแสดงคือ “oh! 50 ?, it’s too cheap”

16 รายการของ place holder โดยทุกตัวจะขึ้นต้นด้วย %

17 Enter first integer 45 Enter second integer 72 Sum is 117
fig02_04.c ตัวอย่างการรับค่าตัวแปลหลาย ๆ ตัว แล้วนำมาคำนวณ ในบรรทัด 13 , 16 จะรับค่าตัวเลขจำนวนเต็มมาใส่ในค่าตัวแปร ส่วนบรรทัด 18 ก็ทำการบวกเลขสองตัว แล้วได้ผลใส่ใน ตัวแปร sum แล้วจึงแสดงผลออกหน้าจอที่บรรทัดที่ 20 Enter first integer 45 Enter second integer 72 Sum is 117 Program Output

18 A visual representation
integer1 45 integer1 45 integer2 72 integer2 72 sum 117

19 การคำนวณทางคณิตศาสตร์
ตารางแสดงเครื่องหมายในการคำนวณพื้นฐาน

20 ลำดับการทำงาน ในกรณีที่มีการคำนวณที่ซับซ้อน จะต้องพิจารณาลำดับการคำนวณ โดยสัญลักษณ์แต่ละตัว จะมีลำดับการคำนวณไม่เท่ากัน

21 ตัวอย่างลำดับการทำงาน

22 เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณอื่น ๆ

23 การเปรียบเทียบ เครื่องหมายที่ใช้ในการเปลี่ยนเทียบ ผลที่ได้จากการเปลี่ยบเทียบจะเป็นค่าจริง (TRUE) หรือเท็จ (FALSE)

24 fig02_09.c (Part 1 of 2)

25 fig02_09.c (Part 2 of 2) Program Output
Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: is not equal to 7 3 is less than 7 3 is less than or equal to 7

26 Program Output (continued)
Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: is not equal to is greater than is greater than or equal to 12 Program Output (continued) Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: is equal to 7 7 is less than or equal to 7 7 is greater than or equal to 7


ดาวน์โหลด ppt Week 2 Variables.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google