โดย ดร. ดลฤทัย ขาวดีเดช คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย Great Wall Chinese
Advertisements

งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
การวิจัย RESEARCH.
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการลดความล่าช้าของเอกสารขาย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม
การวางแผนและการดำเนินงาน
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
ระบบข้อสอบออนไลน์.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 11.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 13.
Alternative Strategies
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การเขียนรายงานการวิจัย
Mind map อ.วรพจน์ พรหมจักร.
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การนับจังหวะก่อนขึ้นเพลง
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
การพัฒนาความสามารถในการจำศัพท์และการเขียน ภาษาอังกฤษโดยการใช้กิจกรรมผังความสัมพันธ์ทาง ความหมาย สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิชา น. 101 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
ปัญหาการวิจัย วิชา MIS เป็นวิชาที่เน้นทฤษฎีแต่ถูกจัดให้เรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาส่วนหนึ่งขาดความสนใจ เล่นเฟสบุ๊ค (Face book) ในขณะที่ครูสอนและทุกครั้งที่มีโอกาส.
การฝึกทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง (อันเดอร์) โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นางพัชลินทร์ แดงประเสริฐ.
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 ผู้ฟังในกลุ่มมีจำนวนทั้งสิ้นเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลเพศหญิงหรือเพศ ชาย วัยใด ในสัดส่วนเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลที่มาจากกลุ่ม สังคมหรือกลุ่มอาชีพประเภทใด.
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
หลักการออกแบบของ ADDIE model
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ดร. ดลฤทัย ขาวดีเดช คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ตำราการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างชาติ ในมหาวิทยาลัยไทย : ประสิทธิภาพ ปัญหา และข้อเสนอแนะ โดย ดร. ดลฤทัย ขาวดีเดช คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

เพื่อสำรวจตำราการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างชาติ ในมหาวิทยาลัยไทย ทำไม...?? เพื่อสำรวจตำราการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างชาติ ในมหาวิทยาลัยไทย

ทำไม...??

อย่างไร... ตำรา (เอกสารการสอน/แบบเรียน)การสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างชาติ ระดับพื้นฐาน มหาวิทยาลัยไทยที่มีการเรียนการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างชาติมามากกว่า 10 ปี เช่น จุฬาฯ ธรรมศาสตร์ มศว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รามคำแหง มมส. ม.บูรพา.... สัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน แต่ละแห่งเกี่ยวกับตำราที่เลือกใช้สอน -ประสิทธิภาพ -ปัญหา ข้อเสนอแนะ

วรรณยุกต์ไทย /naa/ 2. หน่า Custard apple 3. หน้า Face 4. น้า Aunt 1. นา Rice field 2. หน่า Custard apple 3. หน้า Face 4. น้า Aunt 5. หนา Thick /naa/ The stimuli used in our study are Thai lexical tones. Thai has five phonemic tones: mid-level (or slight falling), low-falling, high-rising, high falling and low- rising.

ความสำคัญ...!!! สวย-ซวย /suaj5/-/suaj1/ Beautiful Bad, unlucky!

วรรณยุกต์ไทย 5 เสียง The average F0 contours of the five Thai tones F0 contours of the five tones are depicted in this slide.

ตัวอย่างการแปรผันของเสียงวรรณยุกต์ไทย

คำถามงานวิจัย วิธีการสอนวิธีใดที่ทำให้ผู้เรียนได้คะแนนสูงเมื่อทดสอบทันทีหลังการเรียน วิธีการสอนวิธีใดที่จะทำให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้ใช้กับคำใหม่ที่พูดโดยคนใหม่เมื่อทดสอบทันทีหลังการเรียน วิธีการสอนวิธีใดที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อทดสอบหลังการเรียนผ่านไปแล้วสองสัปดาห์

มีประสิทธิภาพมากกว่า...!!! สมมุติฐาน การสอนวรรณยุกต์ไทยให้แก่ชาวต่างชาติโดยใช้ตัวอย่างที่ “หลากหลาย” High-variability มีประสิทธิภาพมากกว่า...!!! Consistent with the ‘exemplar-based’ theory we hypothesized that mental representation of the Thai mid and low tones categories among participants in the ‘high-variability’ training group who were exposed to multiple tokens of the Thai low and mid tones during training would be more robust than those of low-variability group. They were, therefore, expected to be better at discriminating the two tones after training. They should also be better at discriminating between the two tones produced in new words by new talkers.

วิธีวิจัย ผู้เรียน  ชาวอเมริกัน 60 คน  แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 1. prototype training group 2. high-variability training group 3. control (อเมริกัน และ ไทย)

วิธีวิจัย คำเทียบเสียง (วรรณยุกต์เอก กับ วรรณยุกต์โท)  ชุดคำที่ใช้เรียน คำเทียบเสียง (วรรณยุกต์เอก กับ วรรณยุกต์โท) ชุดที่ 1 = low-variability stimuli = ผู้พูด เป็นชาย 1 คน หญิง 1 คน (คำเดี่ยว/ไม่มีบริบท) ชุดที่ 2 = high-variability stimuli = ผู้พูด เป็นชาย 3 คน หญิง 3 คน (พูดโดยมีบริบท) The stimuli used were minimal pairs of The Thai mid and low tones. Two sets of stimuli were used. The low-variability stimuli were produced by….., the high-variability stimuli were produced by…..

วิธีวิจัย 1. Pre-test 2. Training ( 3 วัน)  ขั้นตอนการวิจัย 1. Pre-test 2. Training ( 3 วัน) 3. Post-tests (ทดสอบทันทีหลังจากการเรียนเสร็จสิ้น) (1) ชุดเดิม pretest (2) ชุดใหม่ Generalization test (คำใหม่ /คนใหม่) 4. Retention test (ทดสอบหลังจากการเรียนเสร็จสิ้น สองสัปดาห์) The study involved a pre-test, a training, a post-test and a retention test. All 60 participants participated in the pretest, but only two experimental groups (of 20 each) participated in the training, the post-test and the retention test.

ผลการวิจัย : Pre-test This graph shows the result of the pretest. From this graph, we can see first of all that native Thai speakers performed better than all three groups of American English speakers. Secondly, all three groups of English speakers performed better under the low-variability stimulus set. Statistical analysis revealed that the difference between the Thai and the three American English group was significant. The performance of the three American English group was comparable and the difference between the two stimulus type was non-significant (in all three groups of American English).

ผลการวิจัย : Pre-test และ Post-Test Let’s now turn to the effect of training. This graph compares the pre-test and post-test performance among the three groups of American English under two stimulus types. From the graph, we can see that the training improved the performance of both training group. The control group did not under training, but there performance did get better at post-test. However, unlike the two training groups, the improvement was not significant (Is this true?). In addition, all three groups performed numerically better (meaning better in number but not statistically better, is it true?) better under the low-variability stimulus

ผลการวิจัย : Pre-test, Post-test to Retention-test (แบบ Low-variability Type) This graphs compares performance of both training groups across the pre-test, the post and the retention test which was administered two after training. What’s interesting about this results is that participants in the high-variability training group out performed those in the prototype group, not at posttest which was administered immediately after training, but at the retention test phase two weeks later. This pattern of results is found under both stimulus type conditions. This graph shows the result for the low-variability stimulus type

ผลการวิจัย : Pre-test, Post-test to Retention-test (แบบ High-variability Type) This graph shows the result under the high-variability stimulus type.

ผลการวิจัย : Generalization Test แบบ Low-variability Type The results of the generalization test under the low stimulus type condition is shown in this graph. In the generalization test, 4 different sets of stimuli were used: old stimuli produced by…….. The results of test revealed that….

ผลการวิจัย : Generalization Test แบบ High-variability Type

ผลการวิจัย : Retention of Generalization Test แบบ Low-variability Type The result of the generalization test administered two weeks after training is shown in this graph for the low-variability stimuli. From this graph we can see that the high-variability training grouped outperformed the prototype group under the new speaker….

ผลการวิจัย : Retention of Generalization Test แบบ High-variability Type

ผลการวิจัย...!!! ได้คะแนนสูงกว่า เมื่อทดสอบทันทีหลังเรียน...!!! ชาวอเมริกันที่เรียนวรรณยุกต์ไทย โดยใช้ตัวอย่างที่ “เป็นต้นแบบ” Low-variability Type ได้คะแนนสูงกว่า ชาวอเมริกันที่เรียนวรรณยุกต์ไทยโดยใช้ตัวอย่างที่ ที่ “หลากหลาย” High-variability Type เมื่อทดสอบทันทีหลังเรียน...!!!

ผลการวิจัย...!!! เมื่อทดสอบหลังเรียน สองสัปดาห์...!!! ได้คะแนนสูงกว่า ชาวอเมริกันที่เรียนวรรณยุกต์ไทยโดยใช้ตัวอย่างที่ “หลากหลาย” High-variability Type ได้คะแนนสูงกว่า ชาวอเมริกันที่เรียนวรรณยุกต์ไทยโดยใช้ตัวอย่างที่ “เป็นต้นแบบ” Low-variability Type

สรุปผลการวิจัย ความหลากหลายของชุดคำที่ใช้ ในการสอนวรรณยุกต์ไทยแก่ชาวอเมริกัน วิธี High-variability Type ส่งผลให้ผู้เรียน มีตัวอย่างข้อมูลเสียงวรรณยุกต์ที่หลากหลายกว่า และถูกเก็บอยู่ในกล่องความจำที่นานกว่า

การประยุกต์ใช้ในการสอนวรรณยุกต์ไทย เน้นการสอนวรรณยุกต์ไทยโดยใช้ “ชุดคำที่หลากหลาย” เช่น จากผู้พูดทั้งสองเพศ (ชาย-หญิง) จากผู้พูดหลากหลายวัย (เด็ก-วัยรุ่น-ผู้ใหญ่-ผู้อาวุโส) จากผู้พูดที่มีอัตราการพูดที่ต่างกัน (เร็ว-ช้า-ปานกลาง) จากคำที่ปรากฏในหลายบริบท (ต้นประโยค-ท้ายประโยค) จากผู้พูดที่มาจากหลายถิ่น (อีสาน กลาง เหนือ ใต้)

ขอบคุณค่ะ

ตัวอย่างการออกเสียงวรรณยุกต์ไทยที่หลากหลาย http://www.youtube.com/watch?v=Zgw5cO3SlMU&feature=related http://www.youtube.com/watch?v=6nlw4NJdnNE&feature=related http://www.youtube.com/watch?v=-aB4tOwf2Sc

ตัวอย่างการออกเสียงวรรณยุกต์ไทยที่หลากหลาย http://www.youtube.com/watch?v=CYsmXatMcwA http://www.youtube.com/watch?v=Q3dqZ4kiJ2k&annotation_id=annotation_544757&feature=iv