งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548
การวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในวิชา Architectural Design Studio โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548

2 ผู้ร่วมโครงการวิจัย นิสิตชั้นปีที่ 3 สถาปัตยกรรมศาสตร์ 37 คน
ผู้สอน-นักวิจัย: ดร. สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้าโครงการ ดร. เยาว์อุไร สุถิรนาถ รศ. ประเสริฐ แสงวชิระภิบาล ผศ. พัฑรา สืบศิริ อ. ดิเรก เส็งหลวง นักวิจัยภายนอก: ดร. วรรณดี สุทธินรากร ดร. ศิริพันธุ์ เวชสิทธ์

3 ความสำคัญของปัญหา การใช้ภาษาอังกฤษ ผู้เรียนมีความรู้ภาษาอังกฤษน้อย ตำราต่างๆที่ใช้เป็นภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม ระดับนานาชาติ ไม่มีคนไทย ขาดงานที่แสดง Originality การจำแบบมาใช้ การอ่าน เข้าใจภาษาอังกฤษได้มากขึ้น และเข้าใจกระบวนการออกแบบโดยมีพื้นฐานจากการค้นคว้า ทำให้สามารถพัฒนาการออกแบบที่เป็นเหตุเป็นผล

4 วัตถุประสงค์งานวิจัย
การใช้ภาษาอังกฤษ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ พูด อ่าน เขียน การค้นคว้าข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม พัฒนากระบวนการเรียนรู้ การออกแบบที่มีลักษณะเฉพาะตัว ผลงานในวิชาแสดงแนวคิดของตนเอง

5 กระบวนการวิจัย การใช้ภาษาอังกฤษ การวิจัยเชิงทดลอง ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
One-Group Pretest/Post-test Design ผลงานด้านสถาปัตยกรรม การวิจัยเชิงทดลอง การเรียนโดยนิสิตเป็นศูนย์กลาง กำหนดเฉพาะหัวข้องาน การออกแบบโดยการใช้ข้อมูลจากงานวิจัย

6 วิธีการ ผู้สอนประจำ 5 คน ใช้เฉพาะภาษาอังกฤษ 1 คน
ใช้ภาษาอังกฤษและไทย 3 คน ใช้ภาษาไทย 1 คน การตรวจงานตัวต่อตัวและใบงานเป็นภาษาอังกฤษ ไม่บังคับนิสิตพูด เขียน ภาษาอังกฤษ

7 เครื่องมือ การใช้ภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
แบบทดสอบความเครียด แบบทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ แบบวัดทัศนคติที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษและวิชาสถาปัตยกรรม แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการเรียน แบบสัมภาษณ์รายบุคคล (indepth interview) แบบสัมภาษณ์การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผลงานด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบโดยการใช้กระบวนการวิจัย ผลงานนิสิต แบบสอบถามความคิดเห็นต่อกระบวนการเรียนการออกแบบโดยการวิจัย

8 การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ภาษาอังกฤษ ร้อยละ Standard Deviation, T-test
Content Analysis ผลงานด้านสถาปัตยกรรม ร้อยละ ผลงานนิสิต (Content Analysis)

9 ผลการศึกษา การใช้ภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
จากการประเมินตนเองร้อยละ 100 สามารถอ่าน ฟัง สื่อสารได้ดีขึ้น จากแบบทดสอบ ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ -การค้นคว้าตำรา/internet/งานวิจัย มากขึ้น -ทัศนคติดีต่อภาษาอังกฤษ (significant) -มั่นใจว่านำเสนองานโดยภาษาอังกฤษได้ -ยังไม่กล้าพูด จุดอ่อน ผลงานด้านสถาปัตยกรรม ผลงานนิสิตมีความหลากหลาย ผลงานนิสิตมีลักษณะเฉพาะตัว

10 ผลที่ได้มากกว่าการศึกษา
นิสิตไม่ขาดเรียน นิสิตทำงานเป็นกลุ่มมากขึ้น นิสิตนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษ นิสิตตอบผู้สอนที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ (ตอบทั้งภาษาไทยและอังกฤษ) นิสิตได้พัฒนาทักษะการทำวิจัย และใช้ข้อมูลงานวิจัยในการออกแบบ เวลาที่นิสิตใช้การศึกษาเพิ่มมากขึ้น ผลงานนิสิตเป็นแนวทางในการทำวิจัยด้านสถาปัตยกรรมต่อไป นิสิตพึงพอใจกระบวนการเรียนการสอน

11 ประสบการณ์จากการเรียนการสอน
ผู้สอนต้องเตรียมตัวด้วยกันก่อนการสอนทุกครั้ง ผู้สอนใช้เวลาในการตรวจงานนานมาก ครั้งละประมาณ 5-7 ชั่วโมง (ปกติ 3-4 ชั่วโมง) ต้องการเอกสารที่ชัดเจน (วัตถุประสงค์ กำหนดเวลาทำงาน ฯลฯ) ต้องเตรียมข้อมูลอ้างอิงเพิ่มให้นิสิต ตารางการสอนต้องปรับเปลี่ยนตลอดเวลา(ขึ้นอยู่กับการพัฒนางานของนิสิต) นิสิตต้องการการปรับตัวในระยะเริ่มต้นภาคการศึกษา

12 ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
Using local material: Integrating rubber into wall construction

13 ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
Using natural material: Vertical landscaping for thermal control

14 ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
Using low-cost mass-produced (balloon): Flexible / Adjustable skin

15 ผลงานด้านสถาปัตยกรรม
Using building texture: Water delaying facade

16 การดำเนินงานวิจัยต่อเนื่อง
ประเมินผลการเรียนการสอนทั้งการใช้ภาษาอังกฤษและผลงานนิสิต นำมาปรับปรุงการเรียนการสอนในภาคการศึกษาต่อไป เปลี่ยนผู้สอนเป็น 4 คน: ชาวต่างประเทศ 1 คน คนไทยใช้เฉพาะภาษาอังกฤษ 1 คน คนไทยใช้ 2 ภาษา 2 คน


ดาวน์โหลด ppt โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google