การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

นางสาวอัปสร ศิลปาจารย์
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Research and Development (R&D)
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Physiology of Crop Production
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การศึกษาชีววิทยา.
การปลูกพืชผักสวนครัว
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
รูปแบบการวิจัย Research Design
การวางแผนและการดำเนินงาน
Arrays.
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
การเขียนรายงานการวิจัย
การปลูกพืชผักสวนครัว
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมมติฐาน ตัวแปร.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีในท้องถิ่น
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ระดับของการศึกษาตัวแปร
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป

การศึกษาชีววิทยา ชีววิทยา เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ดังนั้นการศึกษา ทางชีววิทยาจึงต้องอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสืบเสาะแสวงหาความจริง หรือความรู้ต่างๆ ในธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์ นัก ชีววิทยา เพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีซึ่งจะเป็นประโยชน์ ต่อการดำรงชีวิตของ มนุษย์ในปัจจุบันและอนาคตต่อไป หน้าถัดไป

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Process) 1. ขั้นตั้งปัญหาที่ได้จากการสังเกต 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน 3. ขั้นตรวจสอบสมมติฐาน 4. ขั้นแปรผลและสรุปผลการทดลอง หน้าถัดไป

1.ตั้งปัญหา แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวอเมริกา ได้กล่าวว่า “การตั้งปัญหานั้นสำคัญกว่าการแก้ปัญหา” หลักการ ต้องสัมพันธ์กับข้อมูลที่มีอยู่กะทัดรัดชัดเจน หน้าถัดไป

2.ตั้งสมมติฐาน ขั้นตั้งสมมติฐาน เป็นการพยายามหาคำตอบหรือคำอธิบาย ซึ่งอาจเกิดจากการคาดคะเนหรือสมมติขึ้นซึ่งอาจเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้ ดังนั้นการตั้งสมมุติฐานต้อง “สัมพันธ์กับปัญหา หารแนวทางการตรวจสอบสมมติฐานได้” และมักอยู่ในรูป ถ้า..................ดังนั้น....................... หน้าถัดไป

3.ขั้นตรวจสอบสมมติฐาน 1.ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น 2.ตัวแปรตาม การตรวจสอบสมมติฐานของนักวิทยาศาสตร์มักใช้ วิธีการทดลอง สำรวจ หรือการค้นคว้าเพิ่มเติมจากผลงานวิจัยที่มีผู้ทำการศึกษามาก่อนแล้ว หรือใช้ทั้ง 3 อย่าง ประกอบกันประเมินดูว่า สมมติฐานที่ตั้งไว้นั้นเป็นจริงได้หรือไม่เพียงใด ตัวแปร (variable) คือ ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการทดลอง ตัวแปรมี 3 ชนิด คือ 1.ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น 2.ตัวแปรตาม 3.ตัวแปรควบคุม หน้าถัดไป

ตัวแปรอิสระ (independent variable) คือ ตัวแปรที่เราต้องการศึกษาโดยผู้ทำการทดลอง เป็นผู้กำหนด เช่น เราจะศึกษาเรื่อง “แสงสว่างมีความ จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือไม่” แสงสว่าง จะต้องเป็นตัวแปรอิสระ หรือถ้าศึกษาเรื่อง “ชนิดของดิน มีอิทธิพลต่อการเจริญงอกงามของต้นกุหลาบหรือไม่” ในที่นี้ตัวแปรอิสระคือ ชนิดของดิน หน้าถัดไป

ตัวแปรตาม (dependent variable) คือ ตัวแปรที่แปรเปลี่ยนไปตามตัวอิสระ เช่น จากตัวอย่างในเรื่องตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม คือ อัตรา การเจริญเติบโตของพืช และอัตราการเจริญงอกงามของ ต้นกุหลาบโดยที่ เมื่อปริมาณแสงสวางเปลี่ยนไป อัตราการ เจริญเติบโตของพืชก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย เมื่อชนิดของดินเปลี่ยนแปลงไป อัตราการเจริญงอก งามของต้นกุหลาบก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย หน้าถัดไป

ตัวแปรควบคุม ตัวแปรที่ต้องควบคุมหรือ ตัวแปรคงที่ สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกันในการทดลองเพื่อไม่ให้ กระทบผลการทดลอง เช่น เรื่อง “แสงสว่างมีความ จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือไม่” ตัวแปรที่ต้อง ควบคุมตลอดการทดลอง คือ ชนิดของดิน อุณหภูมิ ปริมาณน้ำ ชนิดของพืช ขนาดที่ใช้ในการปลูก ฯลฯ โดยต่างกันเรื่องเดียว คือ เรื่องแสงสว่างที่เป็นตัวแปร อิสระ หน้าถัดไป

4.ขั้นแปรผลและสรุปผลการทดลอง เมื่อจบการทดลอง เราจะได้ข้อมูลหรือผลการทดลองออกมา ผลการทดลองก็คือข้อเท็จจริงจากการทดลองนั่นเอง การแปรผลและสรุปผลการทดลองก็คือการวิเคราะห์ ผลการทดลองนั้นว่ามีความเป็นไปได้ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ หรือไม่อย่างไร เสร็จแล้วจึงแปรผล และสรุปผลการทดลองเพื่อเป็นคำตอบของปัญหาต่อไป หน้าถัดไป

จบบทเรียนแล้วค่ะ เก่งมากเลย...