การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ: สถานภาพและบริบทของ สารสนเทศศึกษาในประเทศไทย (Information Storage and Retrieval: A focus on Information Studies in Thailand) อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ อาจารย์ ดร. จอมขวัญ ผลภาษี อาจารย์บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ (STKS)
เหตุใดจึงสนใจอยากทำ มีตำรา ISAR ที่เป็นภาษาไทยน้อยมาก เนื้อหาหลากหลาย คาบเกี่ยวกับสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ต้องประยุกต์จากหนังสือสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ต้องการสำรวจความคาดหวังของตลาดงาน “ความรู้และทักษะ ISAR” เพื่อวิเคราะห์สถานภาพและบริบทของเนื้อหาวิชา ISAR เพื่อสร้างเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดเนื้อหาที่พึงมีในตำรา ISAR ของ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษาในประเทศไทย รวมถึงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของวิชา ISAR
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. วิเคราะห์สถานภาพและบริบทของตำรา ISAR ทั้งที่เป็นเอกสารภาษาอังกฤษและภาษาไทย 2. เปรียบเทียบบริบทของเนื้อหาตำรา ISAR ทั้งที่เป็นเอกสารภาษาอังกฤษและภาษาไทย 3. สำรวจความคาดหวังของตลาดงานในความรู้และทักษะด้าน ISAR ที่ต้องการ 4. สร้างเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดเนื้อหาที่พึงมีในตำรา ISAR ของสาขาวิชาสารสนเทศศึกษาในประเทศไทย 5. กำหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิชา ISAR ของสาขาวิชาสารสนเทศศึกษาในประเทศไทย
ขอบเขตของการวิจัย เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบสถานภาพและบริบทของเนื้อหาในตำรา ISAR ที่เป็นเอกสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยทั้งที่อยู่ในรูปเล่มหนังสือ และ e-Book ใช้แบบสอบถามเพื่อสำรวจความคาดหวังของกลุ่มตัวอย่างตลาดงานที่เป็นหน่วยงานบริการสารสนเทศทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในกรุงเทพมหานคร ใน “ความรู้และทักษะด้าน ISAR” ที่ต้องการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้เกณฑ์และแนวทาง - จัดทำตำรา ISAR ของวิชาการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศของ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษาในประเทศไทย - การจัดการเรียนการสอนของวิชา ISAR ของสาขาวิชาสารสนเทศ ศึกษาในประเทศไทย
ระเบียบวิธีวิจัย 1. ศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ - ลักษณะเนื้อหา ISAR - การจัดการเรียนการสอนวิชา ISAR - ความคาดหวังของตลาดงาน ในความรู้และทักษะด้าน ISAR 2. รวบรวมตำราภาษาอังกฤษและภาษาไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ISAR ทั้งที่ อยู่ในรูปเล่มหนังสือ และ e-Book จากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ 3. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสถานภาพและบริบทของตำรา ISAR ทั้งที่เป็น เอกสารภาษาอังกฤษและภาษาไทย
ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) 4. รวบรวมตลาดงานที่เป็นหน่วยงานบริการสารสนเทศในกรุงเทพมหานครและกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยต้องเป็นหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนกึ่งหนึ่งเท่ากัน 5. ออกแบบสอบถามเพื่อสำรวจความคาดหวังของตลาดงานที่เป็นหน่วยงานบริการสารสนเทศในความรู้และทักษะด้าน ISAR ที่ต้องการ 6. ทดสอบแบบสอบถามกับหน่วยงานบริการสารสนเทศภาครัฐและภาคเอกชนที่มีคุณสมบัติเป็นประชากรแต่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างรวม 5 แห่ง จากนั้นปรับปรุงแบบสอบถามเพื่อเตรียมส่งให้กลุ่มตัวอย่างต่อไป 7. ส่งแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่าง และในกรณีได้แบบสอบถามกลับมาไม่ถึง 50 % จะจัดการส่งรอบที่ 2
ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) 8. วิเคราะห์แบบสอบถามด้วยสถิติ: ร้อยละ ค่า Mean ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9. สร้างเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดเนื้อหาที่พึงมีในตำรา ISAR ของสาขาวิชา สารสนเทศศึกษาในประเทศไทย 10. กำหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิชา ISAR ของสาขาวิชาสารสนเทศศึกษาในประเทศไทย 11. สรุปผลและการเขียนรายงานการวิจัย
สรุปงานที่ได้ทำไปแล้ว กำหนดโครงร่างงานวิจัยได้ 50% Review Literature จากวรรณกรรมของต่างประเทศ
วิจัย: การสอน IR IR เปรียบเสมือนหัวใจหลักของสารสนเทศศึกษา / บรรณารักษศาสตร์ Bawden, D. (2007). Information Seeking and Information Retrieval: The Core of the Information Curriculum? Journal of Education for Library and Information Science, 48(2), 125 -138. Fernandez-Luna, J.M.; Huete, J.F.; MacFarlane, A.; Efthimiadis, E.N. (2009). Teaching and learning in information retrieval. Information Retrieval, 12, 201 – 226. IR เปรียบเสมือนหัวใจหลักของสารสนเทศศึกษา / บรรณารักษศาสตร์ ด้านความรู้ = การบริหารจัดการข้อมูล โครงสร้างของข้อมูล ระบบสืบค้น การจัดหมวดหมู่ การค้นคืน ด้านทักษะ = เทคนิคการสืบค้นต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการข้อมูล การวางแผน วิเคราะห์ขั้นตอนและองค์ประกอบ ประเมินวิธีการในการสืบค้น
วิจัย: การสอน IR ด้านเนื้อหารายวิชา ข้อมูล: สภาวะและองค์ประกอบของ การสืบค้น: กลยุทธ์การสืบค้น ความท้าทาย ปัญหาและอุปสรรคในการสืบค้น ระบบ: หลักการออกแบบหรือโครงสร้างเบื้องหลังการทำงานของระบบสืบค้น Johnson, F. (2008). On the relation of search and engines. In Proceedings of the second international workshop on teaching and learning of information retrieval. Retrieved from http://www.bcs.org/server.php?show=ConWebDoc.22355. Jones, G. (2007). Teaching information retrieval using research questions to encourage creativity and assess understanding. In Proceedings of the first international workshop on teaching and learning of information retrieval. Retrieved from http://www.bcs.org/server.php?how=ConWebDoc.8772. Henrich, A. & Sieber, S. (2009). Blended learning and pure e-learning concepts for information retrieval: experiences and future directions. Information Retrieval, 12, 117–147. งานวิจัยด้านการสอน IR แสดงถึงลักษณะสำคัญเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา ที่หลายสถาบันการศึกษาพิจารณาระดับความสำคัญของวิชา Information Storage and Retrieval ต่างกัน และเปิดรายวิชาเกี่ยวกับเรื่องนี้ในระดับความลึกของเนื้อหาที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นของหลักสูตร ความเชื่อมโยงกับวิชาชีพ และ ความสามารถของการจัดการเรียนการสอน เนื้อหามีความแตกต่างกัน 2 ประการ ได้แก่ ความต้องการ update อย่างต่อเนื่อง และหัวข้อที่เป็นเรื่องหลักการและแนวคิดที่ไม่จำเป็นต้องมีการ update บ่อยครั้ง ส่งผลต่อการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน และปรับปรุงตำราหรือเอกสารประกอบ
วิจัย: การสอน IR ด้านตำรา A broad view of basic IR issues Special areas เช่น algorithms and heuristics, Web IR Baeza-Yates, R. A., & Ribeiro-Neto, B. A. (1999). Modern information retrieval. Addison-Wesley. Bawden, D., Bates, J., Steinerovu, J.,Vakkari, P., & Vilar, P. (2007). Information retrieval curricula; contexts and perspectives. In A. McFarlane, J. M. Fernandez Luna, I. Ounis, & J. F. Huete (Eds.), Proceedings of the First International Conference on Teaching and Learning Information Retrieval, London, UK. Grossman, D. A., & Frieder, O. (2004). Information retrieval—algorithms and heuristics (2nd ed.). Dordrecht: Springer. Mizarro, S. (2007). Teaching of web information retrieval: Web first or IR first? In A. McFarlane, J. M. Fernandez Luna, I. Ounis, & J. F. Huete (Eds.), Proceedings of the First International Conference on Teaching and Learning Information Retrieval, London, UK.
วิจัย: การสอน IR ด้านวิธีการสอน การสอนแบบผสมผสานเนื้อหาเข้ากับสื่อดิจิทัลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน 2. ความสำคัญด้านการเตรียมความพร้อมทางหน่วยสนับสนุนเทคนิคและอุปกรณ์ Henrich, A. & Sieber, S. (2009). Blended learning and pure e-learning concepts for information retrieval: experiences and future directions. Information Retrieval, 12, 117–147. Jones, N. (2006). E-College Wales, a case study of blended learning. In C. J. Bonk & C. R. Graham (Eds.), Handbook of blended learning (pp. 182–194). Henrich, A. & Sieber, S. (2009). Blended learning and pure e-learning concepts for information retrieval: experiences and future directions. Information Retrieval, 12, 117–147.
วิจัย: การสอน IR ด้านผู้สอน หลักการ สร้างสรรค์ รักษา ใช้ประโยชน์ มีส่วนร่วม Henrich, A. & Sieber, S. (2009). Blended learning and pure e-learning concepts for information retrieval: experiences and future directions. Information Retrieval, 12, 117–147. รักษาคุณภาพ และความทันสมัยของการดูแลเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน คำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียน และการเข้าถึงเนื้อหาทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบดิจิทัล พร้อมนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสมผสาน Henrich, A. & Sieber, S. (2009). Blended learning and pure e-learning concepts for information retrieval: experiences and future directions. Information Retrieval, 12, 117–147.