ภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แสดงให้คุณ SLIDEPLAYER.IN.TH
Advertisements

ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
บุคลากร วิศวกรรมเครือข่าย บริการและฝึกอบรม ซ่อมบำรุง พัฒนาซอฟต์แวร์
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
บทที่ 3 การตรวจสอบระบบปฏิบัติการ
การดูแลรักษาความปลอดภัย ของเครื่องคอมพิวเตอร์
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
Accessing the Internet
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายสังคมออนไลน์
SECURITY ON THE INTERNET.
HTTP Client-Server.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
TelecommunicationAndNetworks
Social Network.
SMTP.
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์ กับ ไวรัส โปรแกรมไวรัส ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อก่อกวน และทำลาย
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
ทบทวนความเข้าใจ.
ไวรัสคอมพิวเตอร์คืออะไรมาจากไหน ?
P2P คืออะไร? เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ client-client โดยที่ client แต่ละเครื่องจะมีข้อมูลเก็บอยู่ และสามารถจำลองตนเองเป็น.
What’s P2P.
IRC - Internet Relay Chat
บทที่ 11 ไวรัสคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เรื่อง ความรู้ไร้พรมแดน
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
มารยาท และข้อปฏิบัติ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
นายอดิเทพ รอดพุก ชื่อเล่น นิว อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
13 October 2007
13 October 2007
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
สวัสดีตัวเอง >// //< ว่าไง จ๊ะ ยินดีต้อนรับสู่ โปรแกรม Vonage.
ซอฟต์แวร์.
ชื่อโครงการ การขายสินค้าออนไลน์
Fix common PC problems จัดทำโดย นส. ฐิติชญา ถาวร เลขที่ 12 นส. สุรัญชนา หทัยสุวรรณกุล เลขที่ 33 เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการเทคโนโลยี
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
ไวรัสคอมพิวเตอร์.
อินเทอร์เน็ต.
Web browser.
เว็บเพจ (Web Page).
ICQ I SEEK YOU.
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
Internet Service Privider
ปฐมนิเทศนักเรียน ครูระดมพล ช่วยชูชาติ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
โปรแกรม malwarebytes Enter.
Social Network.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การติดต่อด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต WORM

คุณสมบัติ หนอนคอมพิวเตอร์ (Computer Worm) เรียกสั้นๆ ว่า เวิร์ม เป็นหน่วยย่อยลงมาจากไวรัส มีคุณสมบัติ ต่างๆ เหมือนไวรัสแต่ต่างกันที่เวิร์มไม่ต้องอาศัย ผู้ใช้งาน แต่จะอาศัยไฟล์หรือคุณสมบัติในการส่งต่อ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์เพื่อกระจายตัวเอง

วิธีการทำงาน เวิร์มสามารถติดตั้ง Backdoor ที่เริ่มติดเวิร์มและ สร้างสำเนาตัวเองได้ ซึ่งผู้สร้างเวิร์มนั้นสามารถสั่งการ ได้จากระยะไกล ที่เรียกว่า Botnet โดยมีเป้าหมายเพื่อ โจมตีคอมพิวเตอร์และเครือข่าย สิ่งที่อันตรายอย่างยิ่ง ของเวิร์มคือ สามารถจำลองตัวเองในคอมพิวเตอร์เครื่อง หนึ่งแล้วแพร่กระจายตัวเองออกไปได้จำนวนมาก

ตัวอย่างความเสียหาย สามารถดักจับ username และ password และใช้ข้อมูลนี้เพื่อบุกรุกบัญชีผู้ใช้นั้น ทำสำเนา ตัวเองแล้วส่งต่อไปยังทุกรายชื่อที่มีอยู่ในลิสต์ อีเมล์ และเมื่อสำเนาตัวเองเป็นจำนวนมากจะทำ ให้การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายช้าลง เป็นเหตุให้ Web Server และเครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน

วิธีป้องกันภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต สำหรับการใช้งานส่วนบุคคล มีดังนี้ 1. การตั้งสติก่อนเปิดเครื่อง ต้องรู้ตัวก่อนเสมอว่าเราอยู่ที่ไหน ที่นั่นปลอดภัย เพียงใด - ก่อน login เข้าใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมั่นใจว่าไม่มีใครแอบดู รหัสผ่านของเรา - เมื่อไม่ได้อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ควรล็อกหน้าจอให้อยู่ในสถานะที่ ต้องใส่ค่า login - ตระหนักอยู่เสมอว่าข้อมูลความลับและความเป็นส่วนตัวอาจถูก เปิดเผยได้เสมอในโลกออนไลน์

2. การกำหนด password ที่ยากแก่การคาดเดา ควรมีความยาวไม่ต่ำกว่า 8 ตัวอักษร และ ใช้อักขระพิเศษไม่ตรงกับความหมายในพจนานุกรม เพื่อให้เดาได้ยากมากขึ้นและการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตทั่วไป เช่นการ Login ระบบ e-mail, ระบบสนทนาออนไลน์ (chat), ระบบเว็บไซต์ที่เป็นสมาชิกอยู่ ทางที่ดีควรใช้ password ที่ต่างกันบ้างพอให้จำได้ 3. การสังเกตขณะเปิดเครื่องว่ามีโปรแกรมไม่พึงประสงค์ถูกเรียกใช้ขึ้นมาพร้อมๆ กับ การเปิดเครื่องหรือไม่ ถ้าสังเกตไม่ทันให้สังเกตระยะเวลาบูตเครื่อง หากนานผิดปกติ อาจเป็นไปได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ติดปัญหาจากไวรัส หรือภัยคุกคามรูปแบบต่างๆ ได้ 4. การหมั่นตรวจสอบและอัพเดท OS หรือซอฟต์แวร์ที่ใช้ให้เป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะ โปรแกรมป้องกันภัยในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส, โปรแกรมไฟร์ วอลล์ และควรใช้ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนี้ควรอัพเดทอินเทอร์เน็ตเบราเซอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ

5. ไม่ลงซอฟต์แวร์มากเกินความจำเป็น ซอฟต์แวร์ที่จำเป็นต้องลงในเครื่อง คอมพิวเตอร์ ได้แก่ - อินเทอร์เน็ตเบราเซอร์ เพื่อให้เปิดเว็บไซต์ต่างๆ - อีเมล์เพื่อใช้รับส่งข้อมูลและติดต่อสื่อสาร - โปรแกรมสำหรับงานด้านเอกสาร, โปรแกรมตกแต่งภาพ เสียง วีดีโอ - โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์และโปรแกรมไฟร์วอลล์ ซอฟต์แวร์ที่ไม่ควรมีบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ได้แก่ - ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ Crack โปรแกรม - ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่ใช้ในการโจมตีระบบ, เจาะระบบ (Hacking Tools) - โปรแกรมที่เกี่ยวกับการสแกนข้อมูล การดักรับข้อมูล (Sniffer) และอื่นๆ ที่อยู่ในรูปซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่ไม่เป็นที่รู้จัก - ซอฟต์แวร์ที่ใช้หลบหลีกการป้องกัน เช่น โปรแกรมซ่อน IP Address

6. ไม่ควรเข้าเว็บไซต์เสี่ยงภัยเว็บไซต์ประเภทนี้ ได้แก่ - เว็บไซต์การพนัน - เว็บไซต์ที่มีหัวเรื่อง “Free” แม้กระทั่ง Free Wi-Fi - เว็บไซต์ที่ให้ดาวน์โหลดโปรแกรมที่มีการแนบไฟล์พร้อมทำงานใน เครื่องคอมพิวเตอร์ - เว็บไซต์ที่แจก Serial Number เพื่อใช้ Crack โปรแกรม - เว็บไซต์ที่ให้ดาวน์โหลดเครื่องมือในการเจาะระบบ 7. สังเกตความปลอดภัยของเว็บไซต์ที่ให้บริการธุรกรรมออนไลน์ เว็บไซต์ E- Commerce ที่ปลอดภัยควรมีการทำ HTTPS มีใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ และมี มาตรฐานรองรับ

8. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวลงบนเว็บ Social Network ชื่อที่ใช้ควรเป็นชื่อเล่น หรือฉายาที่กลุ่มเพื่อนรู้จัก และไม่ควรเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ เลขที่บัตรประชาชน เบอร์ โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต หมายเลขหนังสือเดินทาง ข้อมูลทางการแพทย์ ประวัติการ ทำงาน 9. ศึกษาถึงข้อกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 โดยมีหลักการง่ายๆ ที่จะช่วยให้ สังคมออนไลน์สงบสุข คือให้คำนึงถึงใจเขาใจเรา 10. ไม่หลงเชื่อโดยง่าย อย่าเชื่อในสิ่งที่เห็น และงมงายกับข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ควรหมั่นศึกษาหาความรู้จากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และศึกษาข้อมูลให้รอบด้าน ก่อนปัก ใจเชื่อในสิ่งที่ได้รับรู้