การบริหารงานของห้องสมุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่งเสริมการรักการอ่าน...
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการบริการสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
OPAC (Online Public Access Catalog)
Patron Info Application
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการดำเนินงานของ สถานศึกษาในการขอรับการ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา จากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1.ด.ช.ณัฐภูมิ คงกระพันธ์ ชั้น ป.4 เลขที่ 3
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
(Circulation Module) อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน ภาควิชา บรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงานของห้องสมุด อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พัฒนาการของห้องสมุด ยุคห้องสมุดอเล็กซานเดรียแห่งอียิปต์ ที่เรียกระบบนั้นว่า บทบัญญัติแห่งจักรวาล โยฮันน์ กูเต็นเบิร์ก ประดิษฐ์แท่นพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก ค.ศ. 1440 หนังสือคัมภีร์เล่มแรกจึงเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1450-1455 ถือเป็นกำเนิดของการบันทึกข้อมูลความรู้ลงบนกระดาษพิมพ์ที่เรียกว่า หนังสือ

พัฒนาการของห้องสมุด การบริการห้องสมุดที่เคยเป็นระบบชั้นปิด ขยายเป็นการบริการชั้นเปิดและเริ่มมีที่นั่ง ค.ศ. 1683 เริ่มมีห้องสมุดในสถานศึกษาในสหรัฐอเมริกาเช่นที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ปัจจุบันจาก ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลาย การรวบรวมและบันทึกข้อมูลในสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นที่นิยมมากขึ้น การดำเนินงานของห้องสมุดจึงเกี่ยวข้องกับการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศควบคู่กับการจัดการสื่อการเรียนรู้ทุกรูปแบบ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

พัฒนาการของห้องสมุด ห้องสมุดมีพัฒนาการมายาวนานจนกระทั่งในปัจจุบันเป็นยุคของห้องสมุดยุคใหม่ ซึ่งห้องสมุดยุคใหม่นี้จะเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ มีการจัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นอกเหนือจากสื่อสิ่งพิมพ์ มีการจัดสถานที่และบรรยากาศที่ทันสมัย มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีสื่อการเรียนรู้ทุกรูปแบบ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชุมชน และชีวิตประจำวัน

การบริหารห้องสมุดยุคใหม่ เป้าหมาย แนวทางการพัฒนาห้องสมุด แผนงานและโครงการ การเงินและงบประมาณ ระบบงานห้องสมุด กำหนดขั้นตอนการทำงานและการบริหารทรัพยากรสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรห้องสมุด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การประกันคุณภาพ

การบริหารห้องสมุดยุคใหม่ อาคารสถานที่ การรักษาความปลอดภัย การประหยัดพลังงาน การสนับสนุนองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ การสนับสนุนการบริการทางวิชาการแก่ชุมชน ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด การจัดทำรายงานประจำปี เอกสารประชาสัมพันธ์และคู่มือการปฏิบัติงาน

ระบบงานห้องสมุด (Library System) งานด้านบริหารและธุรการ งานด้านเทคนิค งานบริการ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

ขั้นตอนของการทำงานเทคนิคห้องสมุด 1. งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ หารายชื่อหนังสือ/ติดต่อผู้ใช้บริการ ติดต่อสำนักพิมพ์/ผู้แทนจำหน่าย ทำรายการเบื้องต้น

ขั้นตอนของการทำงานเทคนิคห้องสมุด 2. งานวิเคราะห์หมวดหมู่และทำรายการ ลงรายการหนังสือ วิเคราะห์หมวดหมู่ ติดสัน/บาร์โค้ด

ขั้นตอนของการทำงานเทคนิคห้องสมุด 3. งานการสืบค้นสารสนเทศออนไลน์ แสดงสถานะของรายการหนังสือ ให้บริการผ่านระบบสืบค้น

ขั้นตอนของการทำงานเทคนิคห้องสมุด 4. งานบริการยืม-คืน บริการยืม-คืน ทำบัตรสมาชิก จองหนังสือ คิดค่าปรับ