สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
ของแผนกบริการตำราและห้องสมุด
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
ถุงเงิน ถุงทอง.
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
แผนกฟิล์มและแม่พิมพ์
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการเพิ่มช่องทางการเข้าถึง เครือข่าย CUNET จากเครือข่าย ภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม IT919.
โครงการ อบอุ่นใจให้เราดูแล
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หน้าที่หลัก เพื่อให้บริการทางวิชาการเกี่ยวกับประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประวัติการอุดมศึกษาไทยแก่นิสิต คณาจารย์ บุคคล และหน่วยงานที่สนใจในเรื่องต่างๆ

ขุมวิชาของผู้รู้ ผู้เจริญ ชื่อโครงการ ขุมวิชาของผู้รู้ ผู้เจริญ

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ ได้รับเอกสารไม่ต่อเนื่อง ทำให้มีข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ ? พ.ศ.2440 พ.ศ.2546 พ.ศ.2554

เป้าหมายและตัวชี้วัด 1.เป้าหมายของโครงการ - เพื่อให้ประชาคมจุฬาฯและผู้สนใจมีข้อมูลเอกสารเพื่อการศึกษาค้นคว้าที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น - เพื่อสามารถนำข้อมูลเอกสารที่ได้จากหอประวัติจุฬาฯไปอ้างอิงได้ - เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หอประวัติจุฬาฯ ให้แก่นิสิต บุคลากร คณาจารย์และผู้สนใจ 2.ตัวชี้วัด - จำนวนเอกสาร ได้รับครบถ้วยตามเกณฑ์ - ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา(ก้างปลา) ไม่ได้รับข้อมูลตอบกลับ ขาดการวางแผน ไม่มีกรอบเวลา ได้รับเอกสารไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลไม่สมบูรณ์ มีภาระงานประจำ ไม่มีผู้รับผิดชอบ

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ 1) สำรวจเอกสารเพื่อตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสารที่มีอยู่ 2) ติดตามขอรับเอกสารจากหน่วยงานต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ สำหรับเอกสารที่ได้รับมาแล้วนำมาประเมินคุณค่า จัดระบบเอกสาร จัดเก็บเอกสาร และลงรายการในฐานข้อมูลต่อไป 3) มีผู้รับผิดชอบในการวางแผนงานและติดตามข้อมูล

ผลลัพธ์การดำเนินการ 1) จำนวนเอกสารข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับครบถ้วนตามเกณฑ์ ดังนี้ 1.1) เอกสารที่ได้รับจากการร้องขอไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อนำมาจัดระบบเอกสารได้จำนวนแฟ้มรวมทั้งสิ้น 334 แฟ้ม จำแนกได้ดังนี้ - เอกสารเกี่ยวกับพิธีการต่าง ๆ จำนวน 183 แฟ้ม ได้แก่ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 จำนวน 21 แฟ้ม 100 ปีสมเด็จย่า จำนวน 8 แฟ้ม พยุหยาตราชลมารค จำนวน 12 แฟ้ม นิทรรศการ “พระก่อพระเกื้อหล้า” จำนวน 34 แฟ้ม พิธีอธิการบดีปติประทานการ จำนวน 13 แฟ้ม รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัย จำนวน 97 แฟ้ม - เอกสารเกี่ยวกับประวัติและผลงานของปูชนียบุคคล ในคณะต่าง ๆ จำนวน 151 แฟ้ม ได้แก่ ปูชนียบุคคล จำนวน 41 คน คณาจารย์ จำนวน 59 คน นิสิตเก่า จำนวน 51 คน

ผลลัพธ์การดำเนินการ(ต่อ) 1.2) การนำเอกสารที่จัดระบบแล้ว ลงรายการทางบรรณานุกรมในฐานข้อมูล Greenstone จำนวน 183 แฟ้ม 2) ผู้ใช้มีความพึงพอใจในการใช้บริการมากขึ้น

The End