งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โครงการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (PC)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
โครงการให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอรรี่”
การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์
กลุ่ม QQQ แผนก วางแผนปรับปรุงและพัฒนา กอง ปรับปรุงพัฒนาระบบส่ง
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักการและเหตุผล (มูลเหตุจูงใจ) ปัจจุบัน
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ลักษณะงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย ในหน่วยงาน ส่วนเครื่องจักรกล สชป.1 มีดังนี้
โครงการชลประทานหนองคาย
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
งานระบบท่อระบายน้ำ PBA TEEM.
TQM M4 แจ้งวัฒนะ - ราชพฤกษ์.
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ หัวข้อปัญหา การจัดการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน preventive maintenance ชื่อโครงการ การให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอร์รี่” กลุ่มช่างประปา

ประเภทโครงการ ต่อยอดโครงการเดิม โครงการเดิม

หลักการและเหตุผล (มูลเหตุจูงใจ) ปัจจุบัน ปัจจุบันการให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอรรี่” ได้ ดำเนินการมาระยะหนึ่ง ซึ่งทำให้มองเห็นว่าโครงการที่ทำอยู่ใน ปัจจุบันนี้ กำลังดำเนินงานไปได้ด้วยดี มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล มีผล การตอบรับดี จึงได้ริเริ่มที่จะจัดทำ preventive maintenance ขึ้น

วัตถุประสงค์ เพื่อได้มีการตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ ระบบสุขาภิบาล ประปา ประจำสำนักงาน อาคาร ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ เพื่อให้ได้มีการตรวจสอบสภาพอายุงาน ของวัสดุ อุปกรณ์ ใน สำนักงาน เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะ ของช่างผู้ปฏิบัติงาน ให้มีความชำนาญ มากขึ้น

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ อัตราการทำ preventive maintenance ของระบบประปา ให้เป็นไปตามแผนการที่กำหนด อัตราการซ่อมของงานช่างประปา อัตรา ความพึ่งพอใจของผู้รับบริการและหน่วยงาน

แผนหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ขอบเขตของโครงการ 8 เดือน ระยะเวลาดำเนินการ ระยะเวลาเริ่มต้นวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 รวม 8 เดือน

ผู้รับผิดชอบโครงการ ลำดับ ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง หน่วยงาน 1 นายอนุรักษ์ แก้วมีแสง ที่ปรึกษากลุ่ม ซ่อมบำรุง 2 นายพายัพ จันตา ประธานกลุ่ม 3 นายสมยศ อยู่เงิน เลขานุการ 4 นายชูชาติ บุญเกิด สมาชิก 5 นายวิชกี้ บุตรละคร 6 นายณัฐพล การศาสตร์ 7 นายสัมฤทธิ์ ตรีสาร 8 นายฐณะวัฒน์ ทรัพย์สิน

การประเมินผลโครงการ มีการประเมินผลทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้ได้ข้อมูล นำมาประกอบ กับการวิเคราะห์ หามูลเหตุในการตัดสินใจในการจัดการขั้น ต่อไป

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ลดการชำรุดสูญเสีย การเกิดอุบัติภัยและอุบัติเหตุเบื้องต้น ลดค่าใช้จ่ายบางประการที่อาจก่อให้เกิดการเสียหายในอนาคต เพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติ ให้มีความชำนาญในงานที่ ต้องรับผิดชอบมากขึ้น

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ โครงการได้สรุปหาสาเหตุและได้ทำการปรับปรุง กับปัญหาที่ เกิดขึ้นอย่างละเอียดรอบครอบและมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ มาตรฐาน ทางวิศวกรรม และได้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญมาช่วยใน การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้เกิดการผิดพลาดที่น้อยที่สุด

สรุปการขยายผลหรือการปรับปรุงที่เพิ่มเติมจากโครงการปีที่แล้ว จากโครงการที่ผ่านมาของปีที่แล้วเราได้ให้บริการงานซ่อมแบบเชิงรุกโดยทำ เป็นทีม และทางโครงการได้ขยายผลต่อยอดให้เพิ่มจากเดิมโดยการจัดการทำ การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (preventive maintenance) ของระบบประกอบอาคาร ของอาคารจามจุรี1 ถึง อาคารจามจุรี 5 และจะต่อยอด ไปยังอาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยต่อไป

ความถี่ในการตรวจบำรุงรักษาระบบสุขาภิบาล ลำดับ รายการตรวจสอบบำรุงรักษา 2สัปดาห์ 1เดือน 3เดือน 6เดือน 1ปี หมายเหตุ 1 ระบบประปา √ 1.1 ถังเก็บน้ำใต้ดิน/บนดิน/บนดาดฟ้าอาคาร -สภาพถังและฝาปิด - เปิดถังเก็บน้ำ -สภาพท่อน้ำเข้า - ออก จากถังเก็บน้ำ -สภาพประตูน้ำเข้า-ออก จากถังเก็บน้ำ -การป้องกันหนูและแมลงสาบเข้าถังเก็บน้ำ 1.2 เครื่องสูบน้ำและห้องเครื่องสูบ -สภาพความสะอาดในห้องเครื่องสูบ -สภาพการทำงานของเครื่องสูบน้ำเสียงดัง,สั่นสะเทือน,รั่วซึม -สภาพการทำงานระบบควบคุมเครื่องสูบน้ำ -ระบบไฟฟ้าของเครื่องสูบน้ำ -สภาพท่อส่งจ่ายน้ำ -สภาพอุปกรณ์ประกอบเครื่องสูบน้ำ เช่นประตู 1.3 ระบบท่อประปา -การรั่วซึมของท่อประปา -สภาพประตูน้ำของระบบประปา

ความถี่ในการตรวจบำรุงรักษาระบบสุขาภิบาล (ต่อ) ลำดับ รายการตรวจสอบบำรุงรักษา 2สัปดาห์ 1เดือน 3เดือน 6เดือน 1ปี หมายเหตุ 2 ระบบระบายน้ำในอาคาร 2.1 ท่อระบายน้ำเสีย -สภาพท่อและการยึดแขวนท่อ -การรั่วซึมของท่อ -การอุดตันในท่อ -สภาพอุปกรณ์ประกอบการระบายน้ำ -ที่ดักกลิ่น -ช่องรับน้ำ (FD.) -ช่องเปิดล้างท่อ(CO.) -สภาพช่องท่อ -กลิ่นและความอับชื้น -การป้องกันหรือกำจัดหนูและแมลงสาบในช่องท่อ -การป้องกันควันและไฟลามในช่องท่อ √ 2.2 ท่อระบายน้ำฝน

รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างประปา

รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างประปา

จบการนำเสนอ ถาม-ตอบ = ?