สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) : ยุทธศาสตร์การเพิ่มจำนวนบทความวิจัย และ จำนวนการอ้างอิงในฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติ 1. วิเคราะห์ baseline data ในอดีต พิจารณาแนวโน้ม กำหนดเป้าหมาย + ริเริ่มโครงการ / กลไกการ ขับเคลื่อน 2. สื่อสาร Target 500 ไปยังระดับภาควิชา / อาจารย์ / นักวิจัย + กำหนด keyword เพื่อสื่อสาร ( A1, B1, … ) 3. นำ keyword ( A1, B1,… ) มาแปลงเป็นแผนปฏิบัติการ 4. มีการ benchmark ภายใน โดยภาควิชาที่มีผลการ ดำเนินการ ในระดับสูง – สูงมาก 5. การ support ทุกวิถีทางจากคณะฯ เพื่อเพิ่มผลงานวิจัย 6. กล้าตัดสินใจทำในสิ่งที่เป็นอนาคต เช่น ยกเลิกวารสาร ฉบับภาษาไทย 7. การบูรณาการศาสตร์และการมองอนาคต เพื่อมุ่งสู่ความ เป็นเลิศในด้าน ความหลากหลายทางชีวภาพ พิบัติภัย + ทรัพยากรในทะเล + สิ่งแวดล้อม + พลังงาน + อาหาร โดยเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ / จุฬาฯ อุตสาหกรรมพื้นถิ่นที่ฝรั่งมาแข่งกับเราไม่ได้
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) ( ต่อ ) ตั้งเป้าหมายผลลัพธ์ที่คาด = 16 โครงการ 8.2 ล้าน 67 ISI Papers (3 ปี ) กลไกที่ใช้ - PCU ( ใช้ Slogan : มีปัญหา ปรึกษา PCU) ปัจจัย แห่งความสำเร็จคือคุณภาพของผู้อ่าน ทั้งด้านการ แก้ไขภาษา + Comments ที่มีค่า - Walk Around ไปทุกภาควิชาฯ นำข้อมูลเชิง เปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นว่า Status เราเป็น อย่างไร เพื่อท้าทายแต่ละภาควิชา เพิ่มสร้างพลังว่า เพื่อเป็นที่หนึ่ง เราต้องทำอะไร ใครต้องผลิตผลงาน อะไร + การสัญญาจากหัวหน้าภาคฯ จึงพัฒนา ฐานข้อมูล on-line ที่ update ทุกสัปดาห์ + กระตุ้น โดยออกวารสารทันข่าวเป็นการเทียบเคียงกับที่อื่น + Happy hour / weekend สำหรับนักวิจัย - ผูกการเพิ่มงานตีพิมพ์เข้ากับหลักสูตรนานาชาติ ( อาจารย์ชาวต่างชาติขอ 2 papers / ปี ) + ให้ อาจารย์ของเราเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) ( ต่อ ) 9. กลไกที่ใช้ ( ต่อ ) - ติดต่อนิสิต Top 3 เชิญมาเรียน ป. โท + ป. เอก ฟรี ตลอดหลักสูตร - ใช้ Review Article แทนการเขียนหนังสือ - เพิ่มเงินจาก 15,000 บาท เป็น 17,000 บาท เพื่อนำ ผลงาน Thesis ป. โท มาตีพิมพ์ - ใช้ Native Speaker มาทำ PCU ได้รับความนิยมสูงมาก ประมาณ 300 เรื่อง ให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสมจาก 40,000 / ปี แรก และเพิ่มเป็น 50,000 บาท - SIP : Science Intelligent Program หรือการ Pool คน เก่งๆ มานั่งทานข้าว คุยกัน เพื่อสร้างกลุ่มวิจัย SP II
ข้อเสนอแนะ 1. ควรนำ Online Faculty Research Profile Database System ไปใช้ขยายผลในระดับคณะฯ ให้ ครอบคลุมทุกคณะภายในปี ปรับชื่อ เพื่อให้วารสารของคณะไปสู่สากลมากขึ้น เช่น Southeast Asian … + ปรับเปลี่ยนแนวคิดจาก ยุบวารสารอายุ 30 ปี ควรปรับเปลี่ยนเป็น Vol.31 จะได้ refer ได้ 3. ทำอย่างไรให้ผลงานวิจัยของคณะฯ Sustainable 4. น่าจะมีการนำ Cases ของคณะวิทยาศาสตร์ มาใช้ใน การฝึกอบรมผู้บริหาร 5. ควรพิจารณาบรรณารักษ์มาช่วย monitor ข้อมูล / ดู จำนวนงานที่ถูก cited ได้เลย + วิเคราะห์ว่าใคร ทำ อะไรใน fields ที่เกี่ยวข้อง key ข้อมูลให้นักวิจัย ในจุฬาฯ ใน program 6. นำ Research Methodology Journal ของครุศาสตร์ มาเชื่อมโยงกับสมาคมฯ หรือ AUN, APRU, AC 21