เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สศ การเมืองและการปกครองของไทย POL
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
5.2 การวัดตำแหน่งของข้อมูล
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
LAB # 3 Computer Programming 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สัมพันธุ์ จันทร์ดี
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การให้ระดับคะแนน (ตัดเกรด) ด้วย T Score
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ระบบฐานข้อมูล (Database Systems)
Cooperative Education
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การให้ระดับผลการเรียน
คะแนนและความหมายของคะแนน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
(Descriptive Statistics)
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
และผลการทดสอบทางการศึกษา
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
By Winit Yuenying Tel  เพื่อศึกษาแนวคิดเชิงวัตถุ คลาส ออบเจ็กต์ การซ่อนสารสนเทศ การ ห่อหุ้ม ความสามารถในการสร้าง ตัวแทน กรรมวิธีการถ่ายทอด.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
การวัดและประเมินผล.
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด) โดย รศ. ดร. ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์

 การวัดผล (Measurement) การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้  การวัดผล (Measurement)  การประเมินผล (Evaluation)  การประเมินผล (Assessment)

การวัดผล (Measurement) หมายถึง การกำหนดค่าเชิงปริมาณ (Quantitative Description)เป็นตัวเลข การประเมินผล(Evaluation) หมายถึง การตัดสินค่า (Value Judgement) ผลการวัด เป็นเชิงปริมาณ การประเมินผล (Assessment) หมายถึงการตัดสินผลวิเคราะห์ที่ได้จากการวัด ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

Evaluation = Measurement +Value Judgment Assessment = Measurement + Non Measurement (Quantitative) (Qualitative) + Value Judgment

การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน 1. วัดความรู้ด้วยข้อสอบปรนัย และอัตนัย ผลที่ได้เป็นเชิงปริมาณ 2. วัดทักษะจากการประเมินผลกิจกรรมและการปฏิบัติ ด้วยกิจกรรมและแบบฝึก ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 3. การประเมินอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม 4. ผลการประเมินเป็น ระดับคะแนน เกรดแทนด้วยตัวอักษร หรือตัวเลข

การให้ระดับคะแนน เป็นการตัดสินใจที่จะแปลค่าของคะแนนเป็น สัญญลักษณ์หรือ ตัวเลขหรือ  สัญญลักษณ์อื่นๆ ที่สามารถบอกระดับความสามารถในการเรียนรู้

การให้ระดับคะแนน 6 วิธี การให้ระดับคะแนน 6 วิธี วิธีที่ 1 โดยตรงจากคะแนนดิบ วิธีที่ 2 โดยใช้คะแนนร้อยละ วิธีที่ 3 โดยใช้อันดับที่ วิธีที่ 4 โดยการวัดการกระจาย วิธีที่ 5 โดยใช้คะแนนมาตรฐาน วิธีที่ 6 โดยวิธีอิงเกณฑ์ และอิงกลุ่ม

วิธีที่ 1 การให้ระดับคะแนน โดยตรงจากคะแนนดิบ คะแนนดิบ(Raw Score)มีความหมายน้อยมาก เพราะเป็นคะแนนที่เกิดจากการสอบโดยตรง ไม่สามารถตีความหมายให้แน่ชัดว่า นักศึกษามีสภาพการเรียนรู้ดีมากน้อย เพียงใด เพราะไม่มีเกณฑ์เทียบเช่น นักศึกษาได้คะแนนภาษาไทย 40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 60 คะแนน

วิธีที่ 2 การให้ระดับคะแนนโดยใช้คะแนนร้อยละ การทำคะแนนดิบให้เป็นร้อยละ จะสามารถเปรียบเทียบกับเกณฑ์ได้ วิธีนี้จะรู้ว่าใครเก่งหรืออ่อนกว่ากัน  

ตัวอย่าง 1 วิชาสถิติมีคะแนนเต็มทั้งหมด 300 คะแนน มีนักศึกษาสอบได้คะแนนสูงสุด 270 คะแนน คะแนนต่ำสุด 80 คะแนน จงหาค่าคะแนนร้อยละของ นักศึกษาที่สอบได้คะแนนสูงสุดและต่ำสุด วิธีทำ นักศึกษาได้คะแนนสูงสุดคือ 270 คะแนน นักศึกษาได้คะแนนต่ำสุดคือ 80 คะแนน คะแนนเต็มทั้งหมด 300 คะแนน นักศึกษาที่ได้คะแนนสูงสุด คิดเป็นร้อยละ =90 หรือ 90%  นักศึกษาที่ได้คะแนนต่ำสุด คิดเป็นร้อยละ =26.67  

วิธีที่ 3 โดยใช้อันดับที่(Ranking) อันดับที่เป็นการแปลงต่ำแหน่งเมื่อเทียบ กับคนอื่นๆ ในกลุ่มเดียวกันหรือคนเดียวกันแต่ต่างวิชา โดยใช้ เปอร์เซนไทล์ ควอไทล์ เดไซล์ ตัวอย่าง กลุ่มที่ 1จันทนาได้คะแนน 50 ได้เปอร์เซนไทล์ ที่ 92 กลุ่มที่ 2 สุดาได้คะแนน 60 ได้เปอร์เซนไทล์ ที่ 80 จงเปรียบเทียบ

วิธีคิด: กลุ่มที่1จันทนาได้คะแนน 50 ได้ เปอร์เซนไทล์ ที่ 92หมายความว่ามีนักศึกษาได้คะแนนน้อยกว่า 50 อยู่ร้อยละ 92 ในขณะที่กลุ่มที่2 สุดา ได้เปอร์เซนไทล์ ที่ 80หมายความว่ามีนักศึกษาได้คะแนนน้อยกว่า 60 อยู่ร้อยละ 80 ดังนั้นจันทนาเก่งกว่าสุดา

หากเป็นคนเดียวกัน เช่น นิดดาได้คะแนนวิชา ภาษาไทย 70 คะแนน ตรงกับ P60 ได้คะแนน วิชาสังคม 65 คะแนน ตรงกับ P73 ดังนั้น นิดดาได้ตำแหน่งในวิชาสังคมดีกว่าภาษาไทย

ตัวอย่างการหาเปอร์เซนไทล์ จงหาค่าเปอร์เซนต์ของคะแนนนักศึกษา 20คน 20 18 16 15 14 11 8 8 6 4

การนำคะแนนที่เป็นร้อยละและเปอร์เซนไทล์ มาช่วยในการตัดสินใจให้เกรดได้ดังนี้(Linn and Miller,2005) A= 95-100% A= 90-100% A= 80-100% A= Percentage Top ลงมา 20% , B=87-94% B=80-89% B=70-79% B = next from A ลงมา 30% C=78-86% C=70-79% C=60-69% C= next from B ลงมา 30% D=69-77% D=60-69% D=50-59% D= next from C ลงมา 15% F=0- 68% F=0-59% F=0-49% F= low 5 % A= Percentage Top ลงมา 10-20% , B= next from A ลงมา 20- 30% C= next from B ลงมา 30-50% D=next from C ลงมา 10-20% F= low 0-10%

ค่ากลาง ฐานนิยม (Mode) คือจำนวนคะแนนที่ซ้ำกัน มากที่สุด มัธยฐาน(Median)คือค่ากึ่งกลางที่มีคะแนนน้อยกว่า มัธยฐานอยู่ 50% และที่มีคะแนนมากกว่า มัธยฐานอยู่ 50% ค่ามัชฌิมเลขคณิตหรือค่าเฉลี่ย(Mean) คือค่ากลางที่ได้จากการรวมค่าข้อมูลทุกตัวแล้วหารด้วยจำนวนข้อมูล ค่ากลาง

ค่าการกระจาย พิสัยคือค่าที่บอกความแตกต่างระหว่างคะแนนสูงสุด กับต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ คือค่าแตกต่างระหว่าง ควอไทล์ที่ 1กับควอไทล์ที่ 3 หรือ P25 กับ P75 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคือค่าเฉลี่ยของการกระจายของ ข้อมูลทุกตัวจากค่ามัชฌิมเลขคณิตยกกำลังสอง แล้วถอดรากที่สอง

วิธีที่ 4 โดยการวัดค่ากลางและค่าการกระจาย ค่าวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าวัดการกระจาย ฐานนิยม (Mode) พิสัย (Range) มัธยฐาน (Median) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile Deviation) ค่าเฉลี่ย (Mean) หรือ มัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

การตัดเกรดโดยอาศัยค่าการกระจาย มักเป็นการตัดเกรดแบบอิงกลุ่มและ อาศัยการแจกแจงโค้งปกติ วิธีที่4. 1 การตัดเกรดที่พิจารณาค่าพิสัย ตามวิธีของ Douglas จำนวนเกรดได้จากการหาอัตราส่วนระหว่างคะแนนต่ำสุดกับสูงสุดแล้วเทียบตาราง

เกรด 2 ระดับ ผ่าน-ไม่ผ่าน เกรด 3 ระดับ ดี (G) ผ่าน(P) ตก(F) ดีเยี่ยม(H) ผ่าน(S) ตก(F)

วิธีที่ 4.2การตัดเกรดที่อาศัยมัธยฐานและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

วิธีที่5 การให้ระดับคะแนนโดยใช้คะแนนมาตรฐาน

T-score= 5019Z Stanines แบ่งเป็น 9 ช่วง

วิธีที่ 6 การให้ระดับคะแนน โดยผสมผสานระหว่าง อิงเกณฑ์ และอิงกลุ่ม

THE END THANK YOU