องค์ประกอบ และ ประโยชน์ของมัลติมีเดีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
หนังสือไร้กระดาษ.
มัลติมีเดีย (Multimedia)
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การสร้างงานกราฟิก.
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
เครือข่ายสังคมออนไลน์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
TelecommunicationAndNetworks
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สื่อการเรียนการสอน.
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
องค์ประกอบ และประโยชน์ของมัลติมีเดีย
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
เว็บเพจ (Web Page).
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
มัลติมีเดีย  Multimedia เป็นการนำเอาสื่อหลาย ๆ อย่าง มาสัมพันธ์กัน และ มีคุณค่าที่ ส่งเสริมซึ่งกันและกันอย่างมีระบบ สื่อ อย่างหนึ่งอาจใช้เพื่อเร้าความสนใจ.
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
ADDIE Model.

เทคโนโลยีสารสนเทศ.
(Demonstration speech)
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
การผลิตรายการโทรทัศน์
การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบ และ ประโยชน์ของมัลติมีเดีย นายกฤตนัย ชัยมูล เลขที่ 1 นายธนาธิป อนะวัชกุล เลขที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1

องค์ประกอบของมัลติมีเดีย Company Logo องค์ประกอบของมัลติมีเดีย ประกอบด้วย ข้อความหรือตัวอักษร(Text) ภาพนิ่ง (Still Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และภาพวิดีโอ (video)แล้วนำมาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อใช้สำหรับการปฏิสัมพันธ์หรือโต้ตอบ (Interaction) ระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ซึ่งถือได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ผู้ใช้สามารถเลือกกระทำต่อมัลติมีเดียได้ตามต้องการตัวอย่างเช่น ผู้ใช้ได้ทำการเลือกรายการและตอบคำถามผ่านทางจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นระบบคอมพิวเตอร์ก็จำทำการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ย้อนกลับผ่านทางจอภาพให้ผู้ใช้เป็นอีกครั้ง เป็นต้น

1. ข้อความตัวอักษร(Text)      ตัวอักษร (Text) ตัวอักษรถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญในการเขียนโปรแกรมมัลติมีเดีย โปรแกรมประยุกต์โดยมากมีตัวอักษรให้ผู้เขียนเลือกได้หลาย ๆ แบบ และสามารถที่จะเลือกสีของตัวอักษรได้ตามต้องการ นอกจากนั้นยังสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรได้ตามต้องการ การโต้ตอบกับผู้ใช้ก็ยังนิยมใช้ตัวอักษร รวมถึงการใช้ตัวอักษรในการเชื่อโยงแบบปฏิสัมพันธ์ได้ เช่น การคลิกไปที่ตัวอักษรเพื่อเชื่อมโยงไปนำเสนอ เสียง ภาพกราฟิกหรือเล่นวีดีทัศน์ เป็นต้น นอกจากนี้ตัวอักษรยังสามารถนำมาจัดเป็นลักษณะของเมนู (Menus) เพื่อให้ผู้ใช้เลือกข้อมูลที่จะศึกษาได้ โดยคลิกไปที่บริเวณกรอบสี่เหลี่ยมของมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์

2.ภาพนิ่ง (Still Image) ตัวอย่างภาพนิ่ง    2.ภาพนิ่ง (Still Image) ภาพนิ่ง (Still Images) ภาพนิ่งเป็นภาพกราฟิกที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย หรือภาพวาด เป็นต้น ภาพนิ่งมีบทบาทสำคัญต่อมัลติมีเดียมาก ทั้งนี้เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงของการเรียนรู้ด้วยการมองเห็น ไม่ว่าจะดูโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสาร ฯลฯ จะมีภาพเป็นองค์ประกอบเสมอ ดังคำกล่าวที่ว่า “ภาพหนึ่งภาพมีคุณค่าเท่ากับคำถึงพันคำ” ดังนั้นภาพนิ่งจึงมีบทบาทมากในการออกแบบมัลติมีเดียที่มีตัวอักษรและภาพนิ่งเป็น GUI (Graphical User Interface) ภาพนิ่งสามารถผลิตได้หลายวิธี อย่างเช่น การวาด (Drawing) การสแกนภาพ (Scanning) ภาพนิ่งเป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ทั้งนี้เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอดความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่า ข้อความหรือตัวอักษรนั่นเองซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจำกัดทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น ตัวอย่างภาพนิ่ง

ตัวอย่างภาพเคลื่อนไหว Company Logo 3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)    ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของอะตอมในโมเลกุล หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่านั่นเอง ภาพเคลื่อนไหว (Animation) ภาพเคลื่อนไหวจะหมายถึง การเคลื่อนไหวของภาพกราฟิก อาทิการเคลื่อนไหวของลูกสูบและวาล์วในระบบการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เป็นต้น ซึ่งจะทำให้สามารถเข้าใจระบบการทำงานของเครื่องยนต์ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นภาพเคลื่อนไหว จึงมีขอบข่ายตั้งแต่การสร้างภาพด้วยกราฟิกอย่างง่าย พร้อมทั้งการเคลื่อนไหวกราฟิกนั้น จนถึงกราฟิกที่มีรายละเอียดแสดงการเคลื่อนไหวโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวในวงการธุรกิจ ก็มี Autodesk Animator ซึ่งมีคุณสมบัติดีทั้งในด้านของการออกแบบกราฟิกละเอียดสำหรับใช้ในมัลติมีเดียตามต้องการ ตัวอย่างภาพเคลื่อนไหว

4. เสียง (Sound) ตัวอย่างเสียง Company Logo 4. เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของมัลติมีเดีย โดยจะถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่ง สามารถเล่นซ้ำกลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับทำงานด้านเสียงหากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาในการนำเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งนั่นเอง ดังนั้นเสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จำเป็นสำหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนำเข้าเสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ เป็นต้น ตัวอย่างเสียง

5. ภาพวิดีโอ (Video) ตัวอย่างภาพวีดีโอ Company Logo 5. ภาพวิดีโอ (Video)    วิดีโอเป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถนำเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจำเป็นจำนวนมาก เนื่องจากการนำเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจำนวนภาพไม่ต่ำกว่า 30 ภาพต่อวินาที (Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนำเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจำมากกว่า 100 MB ซึ่งจะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ด้อยลง ซึ่งเมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถบีบอัดขนาดของภาพอย่างต่อเนื่องจนทำให้ภาพวิดีโอสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและกลายเป็นสื่อที่มีบทบาทสำคัญต่อระบบมัลติมีเดีย (Multimedia System) ตัวอย่างภาพวีดีโอ

ประโยชน์ของมัลติมีเดีย Company Logo ประโยชน์ของมัลติมีเดีย 1. มีการประยุกต์ใช้มัลติมีเดียในการสร้างสื่อการเรียนการสอน อันส่งผลให้เกิดระบบห้องสมุดแบบดิจิตอล (Digital Libray) การเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) การสร้างห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom) และการเรียนการสอนแบบกระจาย อันส่งผลให้เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง      2. ในส่วนธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า E-Commerce อันจะช่วยในการนำเสนอสินค้า มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม      3. ธุรกิจการพิมพ์ นับเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่สัมพันธ์กับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย อันจะส่งผลให้หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น และปัจจุบันก็มี E-Magazine หรือ E-Book ออกมาอย่างแพร่หลาย       4. ธุรกิจการให้บริการข้อมูลข่าวสาร เมื่อมีการนำเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาช่วย จะทำให้ข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่ออกไป มีความน่าสนใจมากกว่าเดิม 5. ธุรกิจโฆษณา และการตลาด มีการใช้มับติมีเดียเจ้ามาช่วยในการสร้างสื่อโฆษณา ซึ่งจะช่วยดึงดูดคนเข้ามาชม ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มีความแปลกใหม่      6. การแพทย์และสาธารณสุข ปัจจุบันมีการสร้างสื่อเรียนรู้ด้านการแพทย์ ช่วยให้ประชาชนทั่วไป มีความสนใจศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล รักษาสุขภาพตนเอง      7. นันทนาการ นับเป็นบทบาทที่สำคัญมาก ทั้งในรูปแบบของเกมการเรียนรู้      8. มีการประยุกต์ใช้ Virtrual Reality เพื่อให้เกิดประโยชน์ในก้านต่างๆ มากยิ่งขึ้น

ภาพนิ่ง Company Logo ตัวอย่างภาพนิ่ง

ตัวอย่างภาพเคลื่อนไหว Company Logo ตัวอย่างภาพเคลื่อนไหว

ตัวอย่างเสียงและภาพวีดีโอ ภาพวีดิโอ Company Logo ตัวอย่างเสียงและภาพวีดีโอ

อ้างอิง http://www.learners.in.th/blogs/posts/167763 Company Logo http://www.learners.in.th/blogs/posts/167763 http://www.learners.in.th/blogs/posts/346185

จบแล้วจ้า ขอบคุณที่ดูจนจบนะครับ