ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เรื่อง ใบยาสูบตำบลทับผึ้ง
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หน่วยการเรียนรู้ เรื่องสัตว์ในท้องถิ่น
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ประดิษฐ์ของประดับตกแต่งบ้าน เพื่อลดภาวะโลกร้อน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ระบบสุริยะ (Solar System).
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
เกาะสมุย สวรรค์กลางอ่าวไทย.
เอกภพและจักรวาล การกำเนิดระบบสุริยะ.
การปลูกพืชผักสวนครัว
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
(Competency Based Curriculum)
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
ส้มตำ ผู้จัดทำ 1.นางสาว จีรพร บัญชาโต เลขที่ 5
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
ความหมายของการวิจารณ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง แหล่งอิงประวัติศาสตร์ พระพุธทศาสนา วัดเตว็ด กลาง จัดทำโดย นางสาว นันทนา จันทะวาศ ม.6/4 เลขที่ 13 นางสาว อนุตา เพ็งสว่าง ม.6/4 เลขที่ 50.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
อาหารใน ชีวิตประจำวัน
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้า ตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใด ของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญ จากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
โลกและสัณฐานของโลก.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์)

โลกและดวงอาทิตย์ โลก เป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะซึ่งมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง โดยโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์และขณะเดียวกันก็หมุนรอบตัวเอง การที่โลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดกลางวัน- กลางคืน ทิศ ปรากฏการณ์ขึ้นตกของดวงอาทิตย์และดวงดาวทั้งหลาย จากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์จะปรากฏ สุริยวิถี ระนาบสุริยวิถี ตำแหน่งดวงอาทิตย์ขึ้นในแต่ละวันตลอดปีมีการเปลี่ยนแปลงแบบวัฏจักร และทำให้ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน เป็นผลให้เกิดฤดูกาล พลังงานจากดวงอาทิตย์เกิดจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชันที่แก่นกลางของดวงอาทิตย์

มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำไปใช้ประโยชน์

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายได้ว่าระบบสุริยะประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางที่มีบริวารโคจรอยู่โดยรอบ และโลกเป็นบริวารดวงหนึ่ง 2. อธิบายได้ว่าการหมุนรอบตัวเองของโลกทำให้เกิดปรากฏการณ์ขึ้นตกของดวงอาทิตย์และดวงดาวทั้งหลาย กลางวันกลางคืน และทิศ 3. อธิบายความหมายของแกนโลก สุริยวิถี ระนาบสุริยวิถี 4. สืบค้นข้อมูลและอธิบายสาเหตุที่ดวงอาทิตย์ขึ้นไม่ตรงจุดเดิม และการเกิดฤดูกาล 5. สืบค้นข้อมูลและอธิบายได้ว่าพลังงานจากดวงอาทิตย์เกิดจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ และเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก

คำถาม คำถามสร้างพลังความคิด ถ้าวันหนึ่งดวงอาทิตย์ดับ นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่บนโลกได้ต่อไปหรือไม่อย่างไร คำถามประจำหน่วย กลางวันกลางคืนเกิดขึ้นได้อย่างไร คำถามประจำบท ดวงอาทิตย์มีความสำคัญต่อโลกอย่างไร

ระยะเวลาในการประเมิน 3 ชั่วโมง

เครื่องมือวัดและประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 2. ใบความรู้ที่ 18 เรื่อง ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์) 3. ใบงานที่ 18 เรื่อง ระบบสุริยะ (โลกและดวงอาทิตย์) 4. อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาทดลอง

การวัดและการประเมินผล การวัดผลประเมินผลด้าน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การผ่าน 1.ด้านความรู้ความเข้าใจ 1.วัดจากแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 1. แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 1. ตอบคำถามถูกมากกว่าหรือเท่ากับ 60% ข้อขึ้น 2.วัดจากการตอบคำถามตามใบงานที่ 18 2.ใบงานที่ 18 2. ตอบคำถามถูกมากกว่าหรือ เท่ากับ 60%ขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากทักษะการทดลอง การออกแบบการทดอง แบบประเมินด้านทักษะการทำงาน ได้คะแนนในระดับ 2 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การสังเกตพฤติกรรมความสนใจ และตั้งใจเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและตั้งใจเรียน

แหล่งข้อมูล เอกสารอ้างอิง http://krusmart.wordpress.com/ http://www.google.co.th/imglanding?q=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0% B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3% E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A5&um=1&hl=th&sa=X&biw=1276&bih=599&tbs=isch:1&tbnid=qpQjgePJnOP3PM: &imgrefurl=http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php%253Fcategory%253D110%2526id%253D14900&imgurl=http:// photos2.hi5.com/0069/255/273/w7CO0.255273-02.jpg&zoom=1&w=556&h=263 http://www.google.co.th/images?hl=th&biw=1276&bih=599&gbv=2&tbs=isch%3A1&sa= 1&q=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3% E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0