ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.5 : จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการ และวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 1. จุดอ่อน คณะฯมีพื้นที่ใช้สอยอย่างจำกัดในการเอื้อ.
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.
ชื่อตัวบ่งชี้ 1. 5 : จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์ เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติ คุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับ.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
งานกิจการนิสิต
คุณภาพ / มาตรฐานผู้เรียน / ผู้รับบริการ
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ หลักสูตรยังขาดความสอดคล้องกัน ซึ่งส่งผลกระทบต่อ แผนการจัดการเรียนการสอน 3. คณะฯ ทราบถึงการประกันคุณภาพของ หลักสูตรตามเกณฑ์ สกอ. ปี 2548 ในเดือนตุลาคม 2548 นั้น จึงทำให้พบว่าคณะฯ ยังขาดการประกัน คุณภาพหลักสูตร

2. จุดแข็ง 1. หลักสูตรแสดงให้เห็นถึงศักยภาพการจัดการ เรียนการสอน เนื่องจากคณะฯมีนักศึกษาที่ได้รับการ ยอมรับของสังคม เช่น มีผลงานที่ได้รับรางวัลจาก หน่วยงานต่าง ๆ ในระดับชาติ 2. หลักสูตรเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและสอดแทรก เนื้อหา รูปแบบ ของศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่น 3. หลักสูตรมุ่งเน้นฝึกทักษะให้นักศึกษา แสดงออกและนำเสนอผลงานต่อสาธารณชนรวมทั้งมี การสอดแทรกเนื้อหาด้านคุณธรรมจริยธรรมและ จรรยาบรรณในวิชาชีพ 3. โอกาส หลักสูตรของคณะฯสามารถยกระดับภูมิปัญญาการ เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นสู่สากล เห็นได้จากผลสำเร็จ ของนักศึกษามีผลงานที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับชาติ

4. กลยุทธ์ / แผนพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัยสอดคล้องตาม เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาพ. ศ และปรับปรุงหลักสูตรในแต่ละหลักสูตรให้มีมาตรฐาน เดียวกัน