การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
ผลงานการตีพิมพ์ อาจารย์แพทย์ 4 เรื่อง อาจารย์แพทย์ 4 เรื่อง แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน 4 เรื่อง; 100%, 50%, 60%
งานวิจัยภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ผลงานที่ เรื่อง /ประเภทวารสาร น้ำหนักวารสาร จำนวนผู้นิพนธ์ทั้งหมด จำนวนผู้นิพนธ์ในภาควิชา สัดส่วนการตีพิมพ์ แบ่งเท่ากัน (F/E) สัดส่วนการตีพิมพ์เทียบกับวารสารนานาชาติที่ได้รับจริง ปัจจัยผลกระทบวารสาร (Journal Impact Factor-JIF) ปี 2550 อาจารย์ 2 ท่าน โรคอะคาเลเซียในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์:รายงานผู้ป่วย 60 ราย สงขลานครินทร์เวชสาร / 3 0.5 3 1 0.333 0.167 0.148 ปี2551อาจารย์ 4 ท่าน Gastropleural fistula following a splenectomy for splenic abscess:a case report. J Med Assoc Thai/2 0.75 5 0.200 0.150 0.239 ปี 2552อาจารย์ 5 ท่าน ระยะเวลาที่ผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดใช้ในการมารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2 0.667 ประสิทธิภาพของอัลตราซาวด์เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในช่องท้องในผู้ป่วยอุบัติเหตุ ณ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 1.000 0.500
งานวิจัยภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน KPI 1 : ผลรวมการตีพิมพ์เทียบกับวารสารนานาชาติของภาควิชาต่ออาจารย์ นักวิจัยในภาควิชา/จำนวนอาจารย์ นักวิจัย KPI 2 : ผลรวมปัจจัยผลกระทบวารสารของภาควิชาต่ออาจารย์นักวิจัย ในภาควิชา KPI 3 : ผลรวมการตีพิมพ์เทียบกับวารสารนานาชาติของภาควิชา KPI 4 : ผลรวมปัจจัยผลกระทบวารสารของภาควิชา
แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมให้อาจารย์แพทย์ทำงานวิจัย สนับสนุนการรับทุนวิจัย สนับสนุนให้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านลงตีพิมพ์ สนับสนุนให้ผู้ช่วยวิจัยพัฒนาความรู้เรื่องงานวิจัย
งานวิจัยแพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้าน หัวข้อวิจัย (มิ.ย.) Proposal (ก.ย.) ส่ง ethic (ต.ค.) เขียนรายงาน (ก.พ.) วิเคราะห์ข้อมูล (ม.ค.) ดำเนินงาน (ม.ค.) ตรวจสอบและแก้ไข (มี.ค.- เม.ย.) ส่งตีพิมพ์ (พ.ค.) นำเสนอ (ส.ค.)
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กิจ กรรม เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. งานวิจัย (ปี2) ดำเนินงาน 1 ปี และ วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงาน ตรวจและแก้ไข ส่งตีพิมพ์ หัวข้อวิจัย นำเสนอ progress ส่ง proposal และแก้ไข ส่ง Ethic
KPIs งานวิจัย อาจารย์แพทย์; 0.5/คน/ปี แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านตีพิมพ์ > 50 % สัดส่วนงานวิจัยนานาชาติเพิ่มขึ้น
จุดแข็ง จำนวนผู้ป่วย สาขาใหม่
จุดด้อย ภาควิชาใหม่ Young staffs-ขาดที่ปรึกษา ผู้ช่วยวิจัยใหม่ งานบริการ ปัจจัยสนับสนุนอื่นๆ เช่น แรงจูงใจ ค่าลงตีพิมพ์
ขอบคุณครับ