ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 TE-Department. โครงสร้างการบริหารภาควิชา ปี พ. ศ TE-Department - คณะกรรมการบริหารภาควิชา ประชุม 1 ครั้ง / เดือน - คณะกรรมการวิชาการภาควิชา ประชุม.
Advertisements

ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Graduate School Khon Kaen University
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ปฐพีศาสตร์ สาขาวิชา.
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
เยี่ยมชื่นชมวิทยาเขตนครสวรรค์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
กลุ่มที่ 1 เจริญบุรี จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอำนาจเจริญ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาวขวัญใจ เมฆมหัศจรรย์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2554 โดย.. นายเดชา กิตติตระกูล.
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสมุทรสงคราม สหกรณ์ก้าวไกล ด้วยน้ำ พระทัยในหลวง.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โครงสร้างสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดระนอง
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2558
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้ โดย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาณครินทร์ และ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ศูนย์ส่วนกลางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กทม. ศูนย์ฯ ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น ศูนย์ฯ ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี ศูนย์ฯ ภาคกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม ศูนย์ส่วนกลางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กทม. ศูนย์ฯ ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จ.สงขลา

แผนผังโครงสร้างงานบริหาร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภารกิจสร้างเศรษฐกิจและสันติสุข คณะอนุกรรมการบริหาร ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ คณะทรัพยากรธรรมชาติ รองคณบดีฝ่ายพัฒนา ศูนย์ฯ ส่วนกลาง ศูนย์ฯ ภาคใต้ กลุ่มงานศูนย์วิจัย ฝ่ายวิจัยและบริการ ศูนย์ฯ ภาคอื่น ๆ ธุรการ วิจัย

งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ หัวหน้าโครงการวิจัย รศ.ดร.จิราพร เพชรรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์ น.ส.อรอนงค์ เพชรนก พนักงานธุรการ

งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ งานวิจัยเกี่ยวกับแมลงศัตรูธรรมชาติและแมลงศัตรูพืช รศ.ดร.จิราพร เพชรรัตน์ ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงแมลง น.ส.ยาวารียะห์ สาเมาะ หัวหน้าโครงการ นักกีฏวิทยา

งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคพืช น.ส.ปวีณา สังข์แก้ว ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ ผู้ช่วยวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย ห้องปฏิบัติการโรคพืช ภาควิชาการจัดการโรคพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.

งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคพืช ห้องปฏิบัติการทางจุลินทรีย์ รศ.ดร.วสันณ์ เพชรรัตน์ หัวหน้าโครงการวิจัย นายไสว บัวแก้ว ผู้ช่วยวิจัย

งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ดินควบคุมโรค และส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ห้องปฏิบัติการจุลินทรีย์ดิน ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ. รศ.ดร. อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการวิจัย น.ส.วานิด รอดเนียม นักวิชาการเกษตร

บุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ น.ส.สายฝน แซ่ตั่น คนงานเกษตร นายเป็นหนึ่ง ทองปาน

โครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2552 เงินงบประมาณประจำปี 2552 1,045,400 บาท 6 โครงการวิจัย

โครงการวิจัยของศูนย์ฯ ภาคใต้ การติดตามสถานการณ์และการประเมินประสิทธิภาพศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืช และวัชพืชในภาคใต้ของประเทศไทย โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 การประเมินการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบร่วง Phytopthora ของกล้ายางพารา

โครงการวิจัยของศูนย์ฯ ภาคใต้ การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์เพื่อควบคุมโรคที่ เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายบริเวณรากพืชที่ปลูกใน ระบบไฮโดรโพนิกส์ โครงการที่ 3 โครงการที่ 4 การแยกและคัดเลือกเชื้อรา Trichoderma spp. เพื่อใช้ควบคุมเชื้อ Ganoderma spp. สาเหตุโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมัน

โครงการวิจัยของศูนย์ฯ ภาคใต้ โครงการที่ 5 การประเมินผลศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูลองกองและการควบคุมโดยชีววิธี โครงการที่ 6 การใช้ศัตรูธรรมชาติในการจัดการแมลงศัตรูศัตรูพืชวงศ์กะหล่ำในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตพริกของจังหวัดสงขลาเพื่อการส่งออก คณะทรัพยากรธรรมชาติ การปลูกพริกอินทรีย์ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสงขลา ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช ฯ ภาคใต้ สำนักงานเกษตรอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ บริการความรู้เกี่ยวกับการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี ในงาน PSU TOUR 2552

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ. จัดนิทรรศการงานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 17 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุม โรครากขาวของยางพาราและการเพาะเลี้ยงแมลงศัตรูธรรมชาติ

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ อบรมการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรครากขาวของยางพาราและการควบคุมโดยศัตรูธรรมชาติ สถานีวิจัยคลองหอยโข่ง

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ ปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงเกษตรกร สวนคุณอุษา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา สวนคุณอุไรวรรณ สุขเอียด อำเภอคลองสะเดา จังหวัดสงขลา

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ อบรมเรื่องพื้นฐานการถ่ายภาพมาโคร และการถ่ายภาพตัวอย่างทางกีฏวิทยาและโรคพืชวิทยา นักศึกษาปริญญาโท สาขากีฏวิทยาและโรคพืชวิทยา จำนวน 15 คน

ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ บริการวิชาการแก่นักศึกษา นักศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช จำนวน 7 คน นักศึกษาปริญญาโท จำนวน 10 คน โรคพืชวิทยา 2 คน กีฏวิทยา 5 คน ธรณีศาสตร์ 2 คน เทคโนโลยีชีวภาพ 1 คน นักศึกษาปริญญาเอก คณะเภสัชศาสตร์ จำนวน 1 คน