พระนางซูสีไทเฮา แห่งราชวงศ์ชิง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

Supply-side Effects of Fiscal Policy.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
ศ.401 เศรษฐศาสตร์การเมือง
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
รอบรู้อาเซียน.
เศรษฐกิจพอเพียง.
การศึกษาต่อในประเทศจีน
การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
Free Trade Area Bilateral Agreement
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
ความหมายของชุมชน (Community)
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
สมัยโคะฟุน.
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
สัมนาเรื่อง “ เราได้อะไรจากสำมะโนอุตสาหกรรม พ. ศ. 2550” หัวข้อบรรยาย ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะ โนอุตสาหกรรม สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม.
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
กระบวนการการทำงานชุมชน
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
นโยบายพลังงาน - ปตท. และ ก๊าซ CBG 4. ประเทศไทยมีการพึ่งพาการนำเข้าด้านพลังงานอยู่ใน ระดับสูงและมีจุดอ่อนหลายประการ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
 โลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาจากคำว่า โลกา + อภิ + วฒฺน หากแปลตามศัพท์ จะหมายความว่า พื้นแผ่นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Global( ทั่วทั้งโลก.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระนางซูสีไทเฮา แห่งราชวงศ์ชิง

จักรพรรดิ์ปูยีแห่งราชวงศ์ชิง

โทกุงาวะ โยชิโนบุ โชกุนคนสุดท้าย

ไซโงะ ทะกะโมริ (西郷 隆盛 ), 1828 – 1877 และ นายพลเรือเพอร์รี่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ญี่ปุ่น

Saigō Takamori (upper right) directing his troops at the Battle of Shiroyama

Young Patriots in Satsuma 46 people gathered in Nagasaki with Saigo's command, 1865. Photo by Hiroma Ueno

Saigō Takamori Gunmusho (軍務所) banknote, issued in 1877 to finance his war effort

จักรพรรดิ์เมจิ

จักรพรรดิ์ไทโชและจักรพรรดิ์ฮิโรฮิโตะ

การแต่งกายชาวจีน สมัย ร.5

ห้วงเวลาและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ประเทศจีน ราชวงศ์ชิงสิ้นสุด 1911 (1644 – 1911) สงครามฝิ่น 1840 – 1842 ประเทศญี่ปุ่น สิ้นสุดยุคโชกุน Perry มาญี่ปุ่น 1853 เริ่มยุคเมจิ (จักรพรรดิเมจิ) 1868 – 1912 ยุคไทโช 1912 – 1926 (ww 1 1914) ยุคโชวะ 1926 – 1989 (ww 2 1941-5)

ห้วงเวลาและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ประเทศไทย ร.4 ครองราชย์ 1851 – 1868 สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง 1855 – 1916 คาบเกี่ยว 3 รัชกาล ร.4 – ร.6

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย 1. ช่วงก่อนสนธิสัญญาเบาริ่ง 1855 ผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเอง เหลือเอาไว้ จ่ายส่วย แลกเปลี่ยน รัฐบาลกำหนดการใช้ทรัพยากร การค้าผูกขาดผ่านพระคลังสินค้า ระบบกรรมสิทธิ์ยังไม่มี โครงสร้างชนชั้น เจ้า ขุนนาง ไพร่ ทาส การแบ่งงานกันทำมีน้อย การสะสมทุนต่ำ ส่วนเกินตกอยู่กับชนชั้นนำเอาไว้แลกสินค้าฟุ่มเฟือย

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย 2. ช่วงสนธิสัญญเบาริ่งถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 เปิดประเทศและเข้าร่วมการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศแบบอาณานิคม ผลิตสินค้าเฉพาะอย่าง (ขั้นปฐมเพื่อส่งออก) แลกกับการนำเข้าสินค้าสำเร็จรูปเพื่อการบริโภคจากประเทศทุนนิยมศูนย์กลาง กระบวนการผลิตภายในประเทศ พึ่งพาหรือถูกกำหนดจากต่างชาติ สินค้าหลัก ข้าว ไม้สัก ยาง ดีบุก ผลิตโดยทุนและเทคโนโลยีจากต่างชาติและ/หรือถูกนำไปส่งออก เช่น ข้าว แม้ผลิตโดยคนไทยแต่นำไปส่งเลี้ยงคนงานในอาณานิคม

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย ไม้สัก ดีบุก ผลิตและส่งออกโดยต่างชาติภายใต้ระบบสัมปทาน ยางพารา นำพันธุ์เข้ามาปลูก แต่เพื่อผลิตส่งออก ไม่มีอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ส่วนเกินจากการผลิต ส่วนที่ตกอยู่กับชนชั้นนำที่เป็นเจ้าของที่ดินหรือเจ้าของทุนก็นำไปบริโภค แต่ส่วนใหญ่ตกอยู่กับต่างชาติที่เป็นเจ้าของทุนและเทคโนโลยี ความสัมพันธ์แบบทุนนิยมศูนย์กลาง กับ ทุนนิยมรอบนอกแบบอาณานิคม จึงไม่เท่าเทียมกันเพราะต่างชาติมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขการค้า กระบวนการผลิต+ส่วนเกิน ไม่ก่อให้เกิดการสะสมทุน

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย 3.ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศเกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขใหม่ (1) แรงงานเหลือเฟือ (2)เทคโนโลยีการผลิตเพื่อการแบ่งขั้นตอนการผลิต ไม่ต้องอาศัยทักษะของแรงงานมาก ต.ย.การตัดเย็บเสื้อผ้า และ(3)เทคโนโลยีการสื่อสารคมนาคม ลดข้อจำกัดด้านระยะทางและเวลา ต.ย. call center นอกประเทศ โลกจึงแบนเพราะไม่มีอุปสรรค “การพัฒนาอุสาหกรรม” ไม่ว่าจะเพื่อทดแทนการนำเข้า หรือ เพื่อการส่งออก จึงเป็นเพียงการจัดระเบียบกระบวนการผลิตของทุนข้ามชาติด้วยเงื่อนไขใหม่ 3 ประการข้างต้น

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย การพัฒนาอุตสาหกรรม โดยทุนนิยมรอบนอกของไทยจึงกลายเป็น การพัฒนาอุสาหกรรมแบบพึ่งพา ดังจะสังเกตุได้จากคุณลักษณะที่สำคัญคือ (1)พึ่งพาทุนและเทคโนโลยีจากต่างชาติ การร่วมทุนจึงมักเป็นเพียงพิธีกรรมของการถือหุ้นแทนต่างชาติเพื่อให้เข้าเงื่อนไขการเป็นกิจการคนไทยเพื่อประโยชน์ด้านการส่งเสริมการลงทุนหรืออื่นๆ (2)การแบ่งปันผลประโยชน์ ทั้งในระดับเจ้าของกิจการ(ผู้ถือหุ้น)และระหว่างนายทุนกับแรงงานมักเป็นไปโดยไม่เป็นธรรม

วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย (3)การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม แม้จะเพิ่มการเจริญเติบโตจากการส่งออกแต่ก็เพิ่มการนำเข้า ทำให้มูลค่าเพิ่มตกอยู่ภายในประเทศต่ำ (4)โครงสร้างการผลิตจึงเปลี่ยนแปลงไป การขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมที่เป็น secondary sector มีสัดส่วนต่อGDPมากกว่าภาคเกษตรที่เป็น primary sector ขณะที่ ภาคบริการที่เป็น tertiary sector มีสัดส่วนสูงอย่างผิดปกติเพราะมีต่างชาติเป็นผู้ประกอบการเป็นส่วนใหญ่