เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ.นวภัค เอื้ออนันต์ โดย นางสาวชลธิดา หลงพลอยพัด รหัส 483040100-6 นางสาวเสาวภาคย์ จำปาทอง รหัส 483040163-2
ความสำคัญและที่มาของโครงการ ในสถานีไฟฟ้าย่อยทุกแห่งต้องมีเครื่องบันทึกข้อมูลประจำเพื่อเก็บค่าทางไฟฟ้า เครื่องบันทึกข้อมูลในสถานีไฟฟ้าย่อยในปัจจุบันเป็นเครื่องบันทึกข้อมูลชนิดกระดาษต่อเนื่อง เล็งเห็นว่าควรนำเครื่องบันทึกข้อมูลดิจิตอลมาแทนที่
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาเครื่องต้นแบบของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิตอล แก้ปัญหาเรื่องอุปกรณ์บันทึกข้อมูลเชิงกลที่ล้าสมัยของสถานีไฟฟ้าย่อย
ขอบเขตของโครงการ สร้าง Data Logger ที่สามารถบันทึกค่าทางไฟฟ้าของสายส่งได้อย่างน้อย 1 สาย เครื่องมือที่พัฒนา มีโหมดการทำงาน 2 โหมด เป็นอย่างน้อย คือ การบันทึกข้อมูลในสภาวะปกติ การบันทึกข้อมูลในสภาวะผิดปกติ เครื่องที่พัฒนาสามารถตรวจจับความผิดปกติ เบื้องต้นของสายส่งและรายงานให้ผู้ใช้ทราบได้ ปกติ – watt VAR volt amp ประมาณ 5-10 point/s , ผิดปกติ – waveform ของ volt ,amp 3000sample/s
แผนการดำเนินงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิตอลสำหรับใช้ในสถานีไฟฟ้าย่อยซึ่งสามารถนำไปทดแทนเครื่องบันทึกข้อมูลแบบกระดาษต่อเนื่องที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Data Logger รูป : แสดงการทำงานของ Data Logger
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษา Lab VIEW หลักการทำงานของ Lab VIEW Acquisition เป็นส่วนที่รับข้อมูล (Input) จากภายนอกเข้าสู่ระบบ เมื่อได้รับข้อมูลแล้วจะผ่านการวิเคราะห์ข้อมูล Presentation คือ การแสดงผลโดยอาจแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษา Lab view (ต่อ) รูป : แสดงภาพตัวอย่างโปรแกรม LabVIEW
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต รูป : Potential Transformer (PT) รูป : Current Transform (CT)
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต(ต่อ) รูป : Data Logger ที่ใช้ในสถานีไฟฟ้าย่อย
การออกแบบ รูป : ระบบของเครื่องบันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล 1.ค่าแรงดันจาก pt,ct 2.วงจร voltage divider 230 KV เหลือ 110V ผ่าน voltage divider เหลือ 5 volt , current บวก ลบ 5amp แปลงให้เป้น volt ผ่าน transducer รูป : ระบบของเครื่องบันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล
การออกแบบฮาร์ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมต่อกับการ์ดรับส่งข้อมูลได้ การ์ดรับส่งข้อมูลซึ่งเป็น DAQ Card วงจรปรับสภาพสัญญาณ
การออกแบบซอฟต์แวร์ รูป : การออกแบบซอฟต์แวร์ 2. ทำหน้าที่บันทึกเวฟฟอร์ม ณ ปัจจุบันกับอดีต ช้อมูลใหม่ทับเก่าไปเรื่อยๆ (บันทึกแค่ชั่วขณะ) มี signal processing รูป : การออกแบบซอฟต์แวร์
การพัฒนาโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมแบ่งเป็นดังนี้ โปรแกรมโดยรวม การแสดงค่าสัญญาณ การวิเคราะห์สัญญาณ
โปรแกรมโดยรวม 3 4 2 1 รูป : Block Diagram ของวงจรหลัก
การแสดงค่าสัญญาณ 2 . 1 รูป : แสดงกราฟของการบันทึกค่า ใน Block Diagram
การแสดงค่าสัญญาณ (ต่อ) 2 1 รูป : หน้าจอแสดงผลของกราฟ
การวิเคราะห์สัญญาณ รูป : แสดง3PhasePowerAnalysis ใน Block Diagram
การวิเคราะห์สัญญาณ (ต่อ) Signal Processing เอารูปวงจรของ signal processing มาอธิบาย รูป : แสดงวงจรของ3PhasePowerAnalysis
การวิเคราะห์สัญญาณ (ต่อ) รูป : แสดงวงจรภายในของ Signal Processing
การวิเคราะห์สัญญาณ (ต่อ) VAR = VpIpsin(seta)/ 2 P = VpIpcon(seta) / 2 รูป : หน้าจอแสดงผลของ Watt, VAR, Vpeak, Ipeak