INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

คำสั่ง DISPLAY รูปแบบที่ 1 DISPLAY identifier-1, identifier-2 … literal-1 literal-2 [ UPON mnemonic-name ]  ตัวอย่าง DISPLAY STUDENT-NAME. DISPLAY.
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การใช้งานเมนูคำสั่งของ Microsoft Excel 2003
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
The Management of Distributed Transaction
ครั้งที่ 12 การค้นหาข้อมูล (Searching)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
Lecture 10 : Database Documentation
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
SORTING.
บทที่ 5 Visual C#.NET กับ ฐานข้อมูล
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
การเรียงลำดับและการค้นหาแบบง่าย
Security and Integrity
หัวข้อการอบรมระบบการจัดการโครงสร้างองค์กร (Organizational Management)
การจัดการข้อมูล (Data management).
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
การสร้างตาราง(Table)
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
น.ส. ภัทริดา ภิญโญภาวศุทธิ
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
Microsoft Access เอกสารประกอบการบรรยายวิชา Computer in Business
SCC : Suthida Chaichomchuen
การสร้างจดหมายเวียน.
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
การใช้งาน phpMyAdmin เพื่อจัดการฐานข้อมูล MySQL
โปรแกรม Microsoft Access
Searching.
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
Suphot Sawattiwong Lab IV: Array Suphot Sawattiwong
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Memory Management ในยุคก่อน
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word 2003
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.
ระบบข้อมูลการจัดที่ดิน
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การใช้โปรแกรม ACDSee สร้าง Flash อย่างง่ายๆ
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
พื้นฐานการใช้งาน Microsoft Word 2007
โปรแกรม Microsoft Access
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
โปรแกรม Microsoft Access
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
Chapter 11 Instruction Sets: Addressing Modes
เสริมเว็บให้ดูสวย.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
Data Structure and Algorithms
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ง30219 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี

การจัดการแฟ้ม สำหรับแฟ้มใด การกระทำต่อแฟ้มมี 4 อย่าง การสร้างแฟ้ม สำหรับแฟ้มใด การกระทำต่อแฟ้มมี 4 อย่าง การสร้างแฟ้ม การเรียกข้อมูลจากแฟ้มออกมาใช้ การปรับปรุงและดูแลข้อมูลในแฟ้ม การลบเรคอร์ด การเพิ่มหรือแทรกเรคอร์ด การเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อมูลในเรคอร์ด การคัดลอกข้อมูลจากแฟ้มเพื่อสำรองข้อมูลและจัดข้อมูลใหม่

การเข้าถึงข้อมูลในแฟ้ม มี 3 วิธี คือ การเข้าถึงข้อมูลแบบลำดับ (Sequential access) การเข้าถึงเรคอร์ดของข้อมูลจะเป็นไปตามลำดับตามตำแหน่งของเรคอร์ด การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม (Random access) การเข้าถึงเรคอร์ดของข้อมูลเป็นไปโดยสุ่ม เพื่อหาที่อยู่ของเรคอร์ดนั้น การเข้าถึงข้อมูลแบบลำดับผสมกับแบบสุ่ม (Dynamic access) ทำโดยสุ่มหาที่อยู่ของเรคอร์ด จากนั้นจะอ่านเรคอร์ดของข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่เรียงต่อกับเรคอร์ดนั้น

การจัดการแฟ้ม มี 3 วิธี Sequential Organization Indexed Organization Relative Organization

แฟ้มดรรชนี (Indexed Files)

ใช้เพือบันทึกหรือเพิ่มข้อมูลเข้าไปในแฟ้มดรรชนี

sort

sort

Create indexed file

Create indexed file

การค้นหาข้อมูลจากแฟ้มดรรชนี ทำได้ 3 วิธี คือ ค้นหาแบบลำดับ ค้นหาแบบสุ่ม ค้นหาแบบไดนามิค

การค้นหาแบบลำดับ มีการทำงานเหมือนแฟ้มลำดับ (Sequential file) ซึ่งในการทำงานแบบนี้ ใช้ ACCESS MODE IS SEQUENTIAL SELECT IND-FILE ASSIGN TO "D:\DATA\IND.DAT" ORGANIZATION IS INDEXED ACCESS IS SEQUENTIAL RECORD KEY IS XCODE. FD IND-FILE. 01 IND-REC. 05 XCODE PIC 99. 05 XNAME PIC X(10). 05 XQUANT PIC 9(4). 05 XPRICE PIC 9(4)V99. 05 PIC XX.

การค้นหาแบบลำดับ คำสั่งต่างๆที่ใช้กับการค้นหาแบบเรียงลำดับนี้ จะใช้งานแบบเดียวกับการทำงานแบบเรียงลำดับ รวมทั้งคำสั่ง READ ซึ่งมีรูปแบบต่อไปนี้

Create report form indexed file

Create report form indexed file

การค้นหาแบบสุ่ม ใช้ ACCESS MODE IS RANDOM ถ้าไม่มี ACCESS MODE จะถือว่าเป็น SEQUENTIAL SELECT IND-FILE ASSIGN TO "D:\COBOLMIX\DATA\IND.DAT" ORGANIZATION IS INDEXED ACCESS IS RANDOM RECORD KEY IS XCODE. FD IND-FILE. 01 IND-REC. 05 XCODE PIC 99. 05 XNAME PIC X(10). 05 XQUANT PIC 9(4). 05 XPRICE PIC 9(4)V99. 05 PIC XX.

การค้นหาแบบสุ่ม

การค้นหาแบบไดนามิก ค้นหาแบบไดนามิก ใช้ ACCESS MODE IS DYNAMIC สามารถค้นหาข้อมูลได้ทั้งแบบเรียงตามลำดับและแบบสุ่ม

การค้นหาแบบไดนามิค

การปรับปรุงแฟ้มดรรชนีแบบลำดับ การปรับปรุงข้อมูลโดยวิธีลำดับเหมาะสำหรับกรณีที่มีข้อมูลที่ต้องการปรับปรุงจำนวนมาก เมื่อเทียบกับจำนวนข้อมูลที่มีอยู่ ถ้ามีการเปิดแฟ้มด้วยคำสั่ง OPEN I-O จะสามารถใช้คำสั่ง REWRITE เพื่อแก้ไขข้อมูล และ ใช้คำสั่ง DELETE เพื่อลบเรคอร์ดของข้อมูลออกจากแฟ้มได้

แฟ้มดรรชนีแบบลำดับ

การปรับปรุงข้อมูลในแฟ้มดรรชนีแบบสุ่ม ในกรณีที่มีเพียงบางเรคอร์ดเท่านั้นที่ต้องการปรับปรุง มักจะใช้วิธีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม

คำสั่ง OPEN I-O ใช้เมื่อต้องการเปิดแฟ้ม เพื่อให้สามารถทั้งอ่านและบันทึกข้อมูลลงในแฟ้มได้ ดังนั้นเมื่อต้องการปรับปรุงแฟ้ม จะต้องใช้คำสั่ง OPEN I-O

คำสั่ง REWRITE ใช้เพื่อแก้ไขข้อมูลในเรคอร์ดที่ได้เคยบันทึกลงในแฟ้มดรรชนีก่อนหน้านี้ ซึ่งจะต้องเปิดแฟ้มโดยคำสั่ง OPEN I-O จึงจะสามารถใช้คำสั่ง REWRITE ได้ ก่อนที่จะใช้คำสั่ง REWRITE แก้ไขข้อมูล อาจใช้คำสั่ง READ เพื่ออ่านข้อมูลก่อนหรือไม่ก็ได้

คำสั่ง DELETE ใช้สำหรับลบข้อมูลออกจากแฟ้มดรรชนี โดยจะต้องเปิดแฟ้มด้วยคำสั่ง OPEN I-O หากค้นเรคอร์ดที่ต้องการลบไม่พบ จะกระทำที่กลุ่มคำสั่ง-1