งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
Dichapong Pongpattrachai, Ph.D., CPA.
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
Statement of Cash Flows
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
The Analysis And Use of Financial Statement
บทที่ 4 งบการเงิน.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
งบลงทุน Capital Budgeting
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
FM FM
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
สมชาย วิวัฒนวัฒนา.
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
การรวมธุรกิจ.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 BASIC FINANCIAL STATEMENTS Chapter 3.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS ) Chapter 3.
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์ งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์

Sales of Services or Goods Ending Inventory Budget Work in Process and Finished Goods Production Budget Ending Inventory Budget Direct Materials Direct Materials Budget Direct Labor Budget Overhead Budget Selling and Administrative Budget Cash Budget The master budget comprises many separate budgets, or schedules, that are interdependent. Based on the sales budget, a company develops a set of operational budgets that specify how its operations will be carried out to meet the demand for its goods or services. A manufacturing company develops a production budget, which shows the number of product units to be manufactured and ending inventory budgets. From the production budget, a manufacturer develops budgets for the direct materials, direct labor, and overhead that will be required in the production process. A budget for selling and administrative expenses also is prepared. The operational portion of the master budget is similar in a merchandising firm, but instead of a production budget for goods, a merchandiser develops a budget for merchandise purchases. A merchandising firm will not have a budget for direct materials. Based on the sales budget for its services, a service industry firm develops a set of budgets that show how the demand for those services will be met. Every business prepares a cash budget. This budget shows expected cash receipts, as a result of selling goods or services, and planned cash disbursements, to pay the bills incurred by the firm. The final portion of the master budget includes a budgeted income statement, a budgeted balance sheet, and a budgeted statement of cash flows. (LO2) Budgeted Income Statement Budgeted Balance Sheet Budgeted Statement of Cash Flows

3 1 2 4 งบกระแสเงินสด การดำเนินงาน การจัดสรรเงินทุน การจัดหาเงินทุน การดำเนินงาน การจัดสรรเงินทุน การจัดหาเงินทุน งบกำไรขาดทุน งบแสดงฐานะทางการเงิน(งบดุล) 3 1 สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน - รายได้ (ขาย) - เงินสด - เจ้าหนี้การค้า - ต้นทุนขาย(สินค้า/บริการ) - ลูกหนี้ - เจ้าหนี้เงินกู้ - กำไรเบื้องต้น - สินค้าคงเหลือ - ค่าใช้จ่ายในการขาย หนี้สินไม่หมุนเวียน การตลาดและบริหาร สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ส่วนของผู้ถือหุ้น - กำไรจากการดำเนินงาน - ที่ดิน - หุ้นสามัญ - ดอกเบี้ยจ่าย - อาคาร - กำไรสะสม - กำไรก่อนภาษี - เครื่องจักร -กำไรประจำปี - ภาษี - กำไรสุทธิ เงินปันผล 2 4 กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม การดำเนินงาน การลงทุน การจัดหาเงินทุน

งบประมาณ: งบรายได้-รายจ่าย งบประมาณรายได้: ที่มีลักษณะเป็นการประจำ/โครงการ งบประมาณรายจ่าย: ดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา/ค่าตัดจำหน่าย หนี้สูญ/หนี้สงสัยจะสูญ ที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน เช่นต้นทุนการกู้ยืม ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ งบประมาณกำไร / ความสามารถในการทำกำไร แยกจัดทำตามบัญชีแยกประเภทที่กำหนดโดยผังบัญชี

งบประมาณ: งบแสดงฐานะการเงิน งบประมาณสินทรัพย์: สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน งบประมาณหนี้สิน: หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน งบประมาณส่วนทุน: ส่วนได้เสียของเจ้าของ ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย แยกจัดทำตามบัญชีแยกประเภทที่กำหนดโดยผังบัญชี

งบประมาณเงินสดรับ-เงินสดจ่าย งบประมาณเงินสดรับ: การเก็บเงินจากรายได้ งบประมาณเงินสดจ่าย: รายจ่าย จ่ายลงทุนในสินทรัพย์ งบประมาณเงินสดส่วนที่เหลือ/ส่วนที่ขาด กลยุทธ์: จ่ายคืนเงินกู้หรือลงทุนระยะสั้นด้วยเงินสดส่วนที่เหลือ, กู้ระยะสั้นเสริมสภาพคล่องสำหรับเงินสดส่วนที่ขาด

แผนกลยุทธ์ทางการเงิน…1 การจัดหารายได้: แหล่งที่มาของเงินทุนที่สำคัญที่สุด /โครงสร้างของรายได้ การควบคุมค่าใช้จ่าย ความสามารถในการทำกำไร ตัวชี้วัด: %กำไร/รายได้ การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนแต่ละประเภท: ระยะเวลาและความสามารถในการเปลี่ยนเป็นเงินสดได้เร็ว จำนวนเงินลงทุนที่เหมาะสม อัตราการหมุนของสินทรัพย์ นโยบายการบริหารเงินทุนหมุนเวียน: การจัดหาแหล่งเงินทุนแบบสอดคล้อง กล้าได้กล้าเสีย ปลอดภัยไว้ก่อน

แผนกลยุทธ์ทางการเงิน…2 ตัวชี้วัดการบริหารสภาพคล่อง(เงินทุนหมุนเวียน): อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินและสภาพคล่องอย่างถึงแก่น การบริหารการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร: งบลงทุน(Capital Budgeting) พิจารณาความสามารถในการสร้างรายได้ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ(NPV) ระยะเวลาคืนทุน ตัวชี้วัด: %กำไร/สินทรัพย์รวม, %กำไร/สินทรัพย์ถาวรอัตราการหมุนของสินทรัพย์: รายได้ /สินทรัพย์รวม, รายได้ /สินทรัพย์ถาวร

แผนกลยุทธ์ทางการเงิน…3 โครงสร้างทางด้านการเงิน แหล่งเงินทุนระยะสั้น จากหนี้สินหมุนเวียน แหล่งเงินทุนระยะยาว จากหนี้สินระยะยาว(ไม่หมุนเวียน) แหล่งเงินทุนระยะยาว จากเจ้าของทุน โครงสร้างทางด้านเงินทุน

Finance Model(แบบจำลองทางด้านการเงิน) Allocation of Funds Acquisition of Funds Sources of Funds Investments Operations Sales/Revenues (S) Cost of sales/COGS Gross Profit SG & A Operating Profit Interest Expenses Profit Before taxes Income Taxes Current Assets Cash Accounts Receivable Inventories Non – Current Assets LT Investments Fixed Assets Total Assets(TA) Current Liabilities Notes Payable/Bank Loans Accounts Payable Accruals Non – Current Liabilities Shareholders’ Equity (SE) Paid – Up Capital Retained Earnings Total Liabilities & SE (TLE) Net Profit (NP) Dividends Operating Activities Investing Activities Financing Activities KPI: %NP/S X S/TA X TA/SE = %ROE %ROA

จบการนำเสนอ ถาม - ตอบ