มาตรการติดตั้ง VSD ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์
Inverter หรือ Variable Speed Drive ( VSD ) เป็นอุปกรณ์ควบคุมความเร็วมอเตอร์ โดยการปรับค่าความถี่ของ แรงดันไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ โดยต่อคั่นระหว่างแหล่งจ่าย ไฟกับมอเตอร์ และมีความสัมพันธ์ ดังนี้ ความเร็วรอบ ( รอบ / นาที ) = 120 * ความถี่แรงดันไฟฟ้า ( Hz ) จำนวนขั้วแม่เหล็ก กำลังงานที่ใช้ α ความเร็วรอบ3 P α n3 VSD สามารถนำมาใช้กับมอเตอร์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ในงานที่มอเตอร์ไม่จำเป็นต้องมีความเร็วคงที่
เมื่อมอเตอร์ทำงานที่สภาวะโหลดต่ำๆ โดยมอเตอร์ยังมีความเร็ว ตามพิกัด เป็นการสูญเสียพลังงานเกินความจำเป็น จึงสามารถนำ VSD มาปรับความถี่ของแรงดันไฟฟ้าที่จะจ่ายให้กับมอเตอร์ลง เพื่อ ลดความเร็วรอบของมอเตอร์ รวมทั้งลดกำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้กับมอเตอร์ VSD สามารถทราบสถานะโหลดโดยรับสัญญาณจาก Sensor ที่เป็น Analog input ขนาด 4 - 20 mA หรือ 0 - 10 Vdc ใน รูปแบบต่างๆ เช่น อุณหภูมิ ความดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า เป็นต้น การใช้งานที่เหมาะสม VSD ใช้ได้กับมอเตอร์ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนความเร็วรอบได้ เช่น มอเตอร์ปั๊มชนิดต่างๆ พัดลม คอมเพรสเซอร์ เครื่องฉีดพลาสติก เครื่องโม่ เครื่องบด เป็นต้น
VSD ควบคุมความเร็วรอบ Chilled Water Pump
มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump สภาพเดิม :มอเตอร์ปั๊มน้ำเย็นของโรงงานจำนวน 3 ตัว ขนาดตัวละ 100 HP ใช้งานครั้งละ 2 ตัว มีการเปิดวันละ 2 เครื่อง และสลับการทำงานกันทุกวัน เพื่อจ่ายน้ำเย็นให้กับ Air Handing Unit และ Fan Coil Unit เพื่อการปรับอากาศภายในโรงงาน การควบคุม : มอเตอร์ปั๊มหมุนด้วยความเร็วรอบคงที่ การส่งน้ำเย็น โดยคนควบคุมด้วยการหรี่วาล์ว โหลด : Air Handling Unit 15 เครื่องในพื้นที่ผลิต Temp Set Point 23 oC : Fan Coil Unit 22 เครื่อง ในพื้นที่สำนักงาน Temp Set Point 25 oC การตรวจวัด : บันทึกการใช้พลังงานไฟฟ้าของ Chilled Water Pump ทั้ง 3 เครื่องเป็นเวลาเครื่องละ 7 วัน
Auto Bypass Valve P-1 P-2 Chiller Plant Room CT-1 CT-2 CT-3 CHP-1,2,3 FCU T AHU T AHU Chiller Plant Room Auto Bypass Valve P-1 P-2 Return header Supply header CHP-1,2,3 75 kW CH-1 CH-2 CH-3 Chiller 500 Ton 3 Units CHP-1 CHP-2 CHP-3 Flow rate point CDP-1,2,3 30 kW CDP-1 CDP-2 CDP-3 CT-1 CT-2 CT-3
มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump การปรับปรุง :โรงงานจะติดตั้ง VSD( Inverter) 3 ตัว ที่ Chilled Water Pump ทั้ง 3 เครื่อง เพื่อควบคุมอัตราการไหลของน้ำเย็นในระบบให้ลดลงจาก 4,339 litre/min เหลือ 3,344 litre/min การควบคุม : ปรับลดความเร็วรอบของมอเตอร์ปั๊มลงมาที่ 42 Hz โหลด : Air Handling Unit 15 เครื่องในพื้นที่ผลิต Temp Set Point 23 oC : Fan Coil Unit 22 เครื่อง ในพื้นที่สำนักงาน Temp Set Point 25 oC การตรวจวัด : บันทึกการใช้พลังงานไฟฟ้าของ Chilled Water Pump ทั้ง 3 เครื่องเป็นเวลาเครื่องละ 7 วัน
วิธีตรวจวัด M M ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง CB แผงไฟฟ้า CB แผงไฟฟ้า Data Logger ปั๊มน้ำเย็น M CB แผงไฟฟ้า Data Logger Inverter ปั๊มน้ำเย็น M
สรุปผลการตรวจสอบการใช้พลังงานก่อนปรับปรุง (Baseline Audit) มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ย Chilled Water Pump NO.1 1,767.0 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.2 1,681.7 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.3 1,784.4 kWh / วัน ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย (วันที่สมัครเข้าร่วมโครงการ) 2.81 บาท/kWh
Post audit Chiller 3 เครื่อง Chilled Water Pump 3 เครื่อง
VSD ควบคุม Chilled Water Pump 3 เครื่อง
การติดตั้ง Data Logger Amp meter ความถี่ 42 Hz การติดตั้ง Data Logger Amp meter
สรุปผลการตรวจสอบการใช้พลังงานหลังปรับปรุง (Post Audit) มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ย Chilled Water Pump NO.1 1,102.8 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.2 1,091.4 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.3 1,077.4 kWh / วัน
วิธีการประเมินผลประหยัด พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ยต่อวันของ Chp ก่อนปรับปรุง (Baseline) = kWh1 กำลังไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ยต่อวันของ Chp หลังปรับปรุง (Post Retrofit) = kWh2 พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ (kWh/ปี) = (kWh1 – kWh2) x จำนวนวันใช้งานต่อปี จำนวนเงินที่ประหยัดได้ (บาท/ปี) = พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ x ค่าไฟฟ้า
ผลการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ; (kWh/ปี) ปั๊มน้ำเย็น Baseline Post Retrofit พลังงานไฟฟ้าลดลง เวลาใช้งาน ผลประหยัด (kWh/วัน) (วัน/ปี) (kWh/ปี) Chp- 1 1,767.00 1,102.86 664.14 148 98,292.72 Chp- 2 1,681.70 1,091.43 590.27 87,359.96 Chp- 3 1,784.40 1,077.43 706.97 104,631.56 รวม 290,284.24
การวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง ผลการประหยัดที่เกิดขึ้นจริง = ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจริง x ค่าไฟฟ้า ณ วันที่สมัครเข้าร่วม = 290,284.24 x 2.81 = 815,698.71 บาท วงเงินภาษีสนับสนุนที่ได้รับการสนับสนุน = ผลการประหยัดที่เกิดขึ้นจริง x อัตราภาษีของสถานประกอบการ 30 % = 815,698.71 x 0.3 = 244,709.61 บาท
การวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง อัตราภาษีของสถานประกอบการ ร้อยละ 30 รอบบัญชีงบประมาณ (รอบปีภาษี) 1 มกราคม 2549 – 31 ธันวาคม 2549 วันที่สมัครเข้าร่วมโครงการ 20 กันยายน 2548 ราคาค่าไฟฟ้า ณ วันที่สมัครเข้าร่วม 2.81 บาท/kWh วันเริ่มใช้งานระบบหลังการปรับปรุง 1 มกราคม 2549 ระยะเวลาคิดผลประหยัด 365 วัน วงเงินภาษีสนับสนุนที่ได้รับอนุมัติ 715,924 บาท วงเงินภาษีสนับสนุนที่ได้รับการสนับสนุน 244,709.61 บาท
มาตรการติดตั้ง VSD ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ อุตสาหกรรม มาตรการ เงินลงทุน (บาท) ผลประหยัด (บาท/ปี) เวลาคืนทุน (ปี) %ผลประหยัด โลหะ ติดตั้ง VSD ที่ FFU (Fan Filter Unit) 7,498,310 1,090,194 6.87 7.33 อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็น 480,965 194,502 2.47 23.36 เครื่องใช้ไฟฟ้า ใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มไฮดรอลิคของเครื่องฉีดพลาสติก 4,029,900 1,826,256 2.21 37.85 อุปกรณ์การแพทย์ 34,000 5,071 6.70 46.78 สิ่งทอ ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบ (VSD) ที่เครื่องกรอด้าย 84,530 119,933 0.70 35.82 ติดตั้ง Inverters ที่มอเตอร์โบลวเวอร์ของ AHU 781,100 374,197 2.09 46.25 ติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump 1,150,000 815,698 1.41 37.44 ปิโตรเคมี ติดตั้งระบบควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์เครื่องสูบน้ำ 310,300 189,350 1.64 11.07 อาหาร ติดตั้ง Inverter ควบคุม Pump 493,100 202,777 2.43 28.68 ใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO 115,484 24,096 4.79 18.18 ติดตั้ง VSD ปั๊มน้ำ Cooling 64,735 141,630 0.46 41.86 Inverter สำหรับมอเตอร์ปั๊มน้ำเย็นและ AHU 730,400 282,181 2.59 34.08 Inverter สำหรับมอเตอร์ปั๊มน้ำเย็น AHU และ CT 3,103,800 1,820,648 1.70 36.52