การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Health Promotion & Prevention
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
Health Promotion & Prevention
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สถานภาพกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 16 กันยายน 2556

ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานสาธารณสุขเขต ส่วนภูมิภาค - สสจ./สสอ. - รพศ./รพท. รพช./รพสต. หน่วยงานในกำกับ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ องค์การมหาชน : โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ : องค์การเภสัชกรรม

ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข MOPH Reform 1.กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์กลาง ของประเทศ บนข้อมูลและฐานความรู้ 2.การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และการสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3.การประเมินนโยบายและเทคโนโลยี ด้านสุขภาพ 4.การกำหนดมาตรฐานบริการต่างๆ 5.การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวัง โรคและภัยสุขภาพ 6.การพัฒนากลไกด้านกฎหมาย เพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาและดูแลสุขภาพ ประชาชน HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION

ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข MOPH Reform 7.การพัฒนางานสุขภาพโลก และ ความร่วมมือระหว่างประเทศ 8.การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผล ของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน 9.การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลัง ด้านสุขภาพของประเทศ 10.การพัฒนาข้อมูลข่าวสาร ให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ 11.การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคน ด้านสุขภาพ 12.การพัฒนาเขตสุขภาพ HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION

ข้อเสนอโครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักตรวจและประเมินผล สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (บทบาทระดับชาติ/กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล IHPP , HITAP - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักบริหารงานบุคคล สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักงานสาธารณสุขเขต 1-12 สำนักสารนิเทศ สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ AREA HEALTH BOARD

ข้อเสนอโครงสร้างระบบสาธารณสุขในระดับเขต กระทรวงสาธารณสุข สนง.ประสานงานเขต สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพ คณะกรรมการประสานการพัฒนาสาธารณสุขระดับเขต คณะกรรมการนโยบายบริการสุขภาพระดับเขต สนง.เขตสุขภาพ 1-12 กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ รพศ./รพท./รพช./ รพสต. กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ กรมต่าง ๆ หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานวิชาการ รพ. สังกัดอื่น รพ. มหาวิทยาลัย รพ. เอกชน อปท.

บทบาทของ Provider และ Regulator ในเขตสุขภาพ * จัดระบบบริการสุขภาพ 4 มิติ ได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู รวมทั้งงานคุ้มครองผู้บริโภค * บริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้หมายของกระทรวง โดยมีแผนร่วม - แผนลงทุนร่วม - แผนเงินบำรุงและแผนการใช้งบประมาณ - แผนการจัดซื้อยาและวัสดุวิทยาศาสตร์ฯร่วม - ติดตาม ควบคุม กำกับงานและพัฒนา ปรับปรุง (M/E, Supervisor)

บทบาทของ Provider และ Regulator ในเขตสุขภาพ * ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามเป้าหมายของกสธ. - เขตบริการสุขภาพ - ท้องถิ่น - ภูมิภาค - เอกชน โดยติดตามดู ผลลัพธ์ (output/outcome) ที่เกิดกับปชช. - process ที่สำคัญ - การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลัง การพัสดุ - การบริหารบุคคล - ความโปร่งใส สุจริต

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการระดับเขต * จัดทำแนวทางการจัดตั้งสนง.เขตสุขภาพ (องค์ประกอบด้านคน เช่น CIO CSO CFO และโครงสร้างงาน) * จัดตั้งคณะกก.พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับเขต ( Service Provider Board ) * มอบนโยบายการบริหารแผนงานและข้อมูลระดับเขต - พัฒนาระบบบริการสุขภาพ/ - บริหารการเงินการคลัง - บริหารทรัพยากร ฯลฯ

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 2. การบริหารร่วม - บริหารแผน : มียุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายตัวชี้วัดระดับเขต - บริหารทรัพยากรบุคคล : มีการวางแผนกำลังคน โดยวิเคราะห์ อัตรากำลัง ความต้องการรายหน่วยบริการ จัดสรรอัตรากำลัง พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร การจ้างพนักงานกสธ. และการกำหนดค่าตอบแทน แรงจูงใจให้ปฏิบัติงาน อย่างเป็นธรรมและเหมาะสม

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต - บริหารงบประมาณ : บริหารงบ UC ได้แก่ ค่าใช้จ่ายรายหัว และงบ PP ทั้ง และงบ Non UC ในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า ทั้งนี้ส่วนกลางกำหนดวงเงินให้ เขตบริหารเอง - บริหารงบลงทุน : วางแผนการลงทุนและแผนการใช้ทรัพยากร ร่วมกันในเขต - บริหารการจัดซื้อจัดจ้าง : มีแผนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ให้เป็นไปตามเป้าหมายของกสธ. โดยเฉพาะยา และวัสดุ วิทยาศาสตร์ มีการดำเนินการร่วมกัน

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 3. การจัดบริการร่วม * มีแผนการจัดบริการที่บูรณาการครอบคลุม 4 มิติ เพื่อ ตอบสนองเป้าหมายและตัวชี้วัดตามกลุ่มวัย * มีแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขาและ ยกระดับขีดความสามารถของสถานบริการในลักษณะ เครือข่ายเชื่อมโยงทุกระดับ (Service Plan) ทั้งในเขต และนอกเขต * ดำเนินการติดตามและบริหารผลการดำเนินงานตาม ระยะเวลา * ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานและการจัดบริการร่วม

ข้อเสนอสำนักงานเขตสุขภาพ เป็น Back up Office ของ AHB สนง. ประสานงานเขต สตป/สป. สำนักงานเขตสุขภาพ 1-12+ กทม. งานพัฒนายุทธศาสตร์ งานพัฒนาระบบบริการ งานบริหารทรัพยากร งานบริหารทั่วไป งานแผนงาน งาน MIS/IT งาน M&E และ KPI งานพัฒนาและแก้ไข ปัญหาพื้นที่ Service Plan Referral System EMS & PHER งานคุณภาพมาตรฐานบริการ การเงินการคลัง การบริหารกำลังคน การลงทุน การบริหารงบประมาณ งานบริหารทั่วไป งานสนับสนุนเครือข่าย

เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557

แผนสุขภาพเขต 50 KPI MOU A Q E  A Q E S 10-15 KPI เน้นหนัก ปัญหาของเขต 6 KPI 50 KPI MOU 10-15 KPI เน้นหนัก แผนยุทศาสตร์เขต แผนปฏิบัติการเขต A Q E  A Q E S

... สวัสดี