แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การสื่อสารแผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร ระดับภาค ระดับพื้นที่
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 การดำเนินงานที่เน้นหนักของ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ. ศ นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8 กันยายน 2553 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
บทบาทข้าราชการฝ่ายปกครอง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
สรุปการประชุมระดมความคิด
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
มอบนโยบายการ บริหารงาน กระทรวงคมนาคม 5 พฤศจิกายน 2555.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
การประชุมชี้แจง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้ เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมทางหลวงชนบท

ประเด็นปัญหา อาเซียนได้ตกลงที่จะเปิดเสรีด้านการค้าและการค้าบริการสำคัญใน 11 สาขา ประเทศไทยมีต้นทุนด้านโลจิสติกส์สูงมาก โดยอยู่ที่ร้อยละ 16.8 ของ GDP ในขณะที่ประเทศสหรัฐอเมริกา มีต้นทุนร้อยละ 7.7 ของ GDP เท่านั้น สศช. ได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ซึ่งมุ่งเน้นการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน โดยเสนอให้ผลักดันการ ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transportation) สนข. ได้ศึกษาเส้นทางการเชื่อมต่อโครงสร้างพื้นทางการขนส่งและโลจิสติกส์ ระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน และเสนอให้มีการพัฒนาโครงข่ายที่มีอยู่ให้เชื่อมโยง ในรูปแบบการขนส่งหลายรูปแบบ พร้อมกับการพัฒนาจุดเชื่อมโยงการขนส่งและ โลจิสติกส์ (Feeder)

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แนวทางการวิเคราะห์ Demand-Supply Analysis เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์รองรับการเปิดเสรีการค้า AEC Demand Supply รัฐบาล กรมทางหลวงชนบท ภาคประชาชน ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นโยบาย บริการสาธารณะ เชื่อมต่อการค้าการลงทุน เส้นทางขนส่งพืชพลังงาน เส้นทางสู่แหล่งท่องเที่ยว ลดการใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เส้นทางความมั่นคงตามแนวชายแดน ยุทธศาสตร์ AEC ทช. การให้บริการที่เป็นมาตรฐานสากล การปรับปรุงแผนที่ GIS ให้เป็นมาตรฐานสากล การปรับปรุงกฎหมายให้เป็นสากล การร่วมทุนของภาคเอกชนในรูปแบบ PPP การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับต่างประเทศ การให้ความรู้ด้านงานทางแก่ประชาชนในท้องถิ่น

แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยุทธศาสตร์เชิงรุก ยุทธศาสตร์เชิงรับ ระยะเร่งด่วน ระยะสั้น ระยะยาว ระยะกลาง พัฒนาระบบโครงข่ายสนับสนุน (Feeder system) ปรับปรุงการบริการสู่ มาตรฐานสากล พัฒนาแนวทางรับมือ และป้องกันภัยธรรมชาติ ยกระดับคุณภาพงาน ทางหลวงท้องถิ่น

1.พัฒนาระบบโครงข่ายสนับสนุน (Feeder System) “เพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล โดยมีแนวทางที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 นโยบายของกระทรวงคมนาคม และแผนโลจิสติกส์ของ สนข.” การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทเชื่อมต่อระบบโลจิสติกส์ด้านการค้า การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทเชื่อมต่อระบบโลจิสติกส์ด้านพลังงาน การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทเชื่อมต่อระบบโลจิสติกส์ด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทเชื่อมต่อระบบโลจิสติกส์ด้านความมั่นคง การสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและลดการใช้พลังงาน เช่น การสร้างเส้นทางลัด เส้นทางเลี่ยง การศึกษาและสนับสนุนแนวทางการร่วมทุนกับภาคเอกชนในรูปแบบของ PPPs (Public-Private Partnerships)

2. ปรับปรุงการให้บริการสู่มาตรฐานสากล “เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการที่มาจากประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยมุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบการให้บริการไปสู่คุณภาพมาตรฐานสากลและ เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ” การให้บริการและประชาสัมพันธ์ในรูปแบบภาษาอังกฤษ การพัฒนาบุคลากรในด้านทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การเพิ่มป้ายบอกทางและสัญลักษณ์จราจรสากล การปรับปรุงระเบียบ มาตรฐาน และกฎหมายที่เกี่ยวกับทางหลวง การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์

3. ยกระดับคุณภาพงานทางหลวงท้องถิ่น “เพื่อยกระดับงานทางหลวงท้องถิ่นในการพัฒนาและบำรุงรักษาสายทางให้มีจำนวนที่พอเพียง เชื่อมต่อกับระบบโลจิสติกส์อื่นอย่างมีคุณภาพ และปลอดภัยในการเดินทาง รวมทั้งการให้ความรู้ด้านงานทางประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้าใจที่ดี ” การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างบูรณาการ การให้ความรู้ด้านงานทางสากลแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การพัฒนาองค์ความรู้เรื่องแผนงานของท้องถิ่น การพัฒนาองค์ความรู้เรื่องบำรุงทางของท้องถิ่น การสนับสนุนการจัดทำงบประมาณของท้องถิ่น การติดตามความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานของท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ

4. พัฒนาแนวทางรับมือและป้องกันภัยธรรมชาติ “เพื่อลดระดับความเสียสูญและผลกระทบจากภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับโครงข่ายทางหลวงชนบทและทางหลวงท้องถิ่น และเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของประชาชน รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นของนักลงทุน และความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ” การศึกษาและวิเคราะห์หาสายทางและสะพานในพื้นที่เสี่ยงภัย การศึกษารูปแบบความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติ การออกแบบระบบป้องกันและลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ การพัฒนาและยกระดับงานทางหลวงชนบท การจัดแผนงานและโครงการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น การสร้างความร่วมมือด้านวิชาการกับหน่วยงานต่างประเทศ