ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
ผศ.ดร.ศิรภัสสร วงศ์ทองดี
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
หลักการและแนวปฏิบัติ รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การจัดทำแผนสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan)
กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การเพิ่มผลผลิต Productivity
มาตรฐานการควบคุมภายใน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ADDIE Model.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
ปัญหาที่พบ คือ การขาดความรับผิดชอบ ของนักศึกษา สาเหตุของปัญหา 1. ลักษณะนิสัยส่วนตัวของนักศึกษา ซึ่งอยู่ในช่วงวัยรุ่น 2. การมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อน ร่วมงาน.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์

1 การบริหารงานบุคคล

วงจรการบริหารงานบุคคล วิเคราะห์งาน กำหนดบทบาทหน้าที่ คัดเลือก เลื่อนระดับ ปรับตำแหน่ง ให้ออก ปฐมนิเทศและ มอบหมายงาน นิเทศ พัฒนา ประเมิน การปฏิบัติงาน

จุดอ่อนของการบริหารงานบุคคล ณ วันนี้ ตามวงจรการบริหารงานบุคคล ในองค์กรโดยทั่วไป ท่านคิดว่ามีจุดอ่อนหรือข้อจำกัดในเรื่องใดบ้าง

ความหมายและขอบเขตของ 2 ความหมายและขอบเขตของ การประเมินบุคลากร

ขอบเขตการประเมินบุคลากร 1. การประเมินศักยภาพของบุคคล 2. การประเมินความต้องการจำเป็น เพื่อการพัฒนาบุคลากร 3. การประเมินการปฏิบัติงาน

การประเมินศักยภาพของบุคคล 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain )…ความรู้ ความคิด 2. ด้านเจตคติ (Affective Domain)…….เจตคติ ความมุ่งมั่นในงาน 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain )…ทักษะปฏิบัติ 4. ทักษะการจัดการ ( Management Skill )

การประเมินความต้องการจำเป็น Staff Development Needs ในการพัฒนาบุคลากร Staff Development Needs ประเมินศักยภาพ และการปฏิบัติงาน

เพื่อการวิเคราะห์ Training Needs วิธีการรวบรวมข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ Training Needs 1. ถามตรง ( Direct Questions) -ต้องการเสริมความรู้ ทักษะ ในด้านใดบ้าง มากน้อยเพียงใด -ประสบปัญหาอุปสรรคในการทำงาน ในลักษณะใดบ้าง

2. ผู้บังคับบัญชาประเมินผู้ใต้บังคับบัญชา -ขาดความรู้ ทักษะ ในด้านใดบ้าง -ความมุ่งมั่น จริงจัง ในการปฏิบัติงาน เป็นอย่างไร

3. พิจารณาจากสถิติ ความผิดพลาด ในการปฏิบัติงาน 4. ประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน เทียบกับองค์กรมาตรฐาน 5. ใช้หลายวิธีประกอบกัน

การประเมิน การปฏิบัติงาน Performance Assessment ก. เน้นดูพฤติกรรมการทำงาน สภาพการปฏิบัติงานจริง และ ข. ผลงาน/ชิ้นงาน/คุณภาพงาน

ก.พฤติกรรมการปฏิบัติงาน 1. พฤติกรรมการบริหารจัดการทั่วไป General Skills 2. เทคนิค/ทักษะเฉพาะทาง Technical Skills 3. บุคลิกภาพ ความมุ่งมั่น

พฤติกรรมการปฏิบัติงานเชิงระบบ ค้นหา พัฒนาทางเลือก ใหม่ ๆ เพื่อยกระดับ คุณภาพงาน วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน/ ปัญหา งานในหน้าที่ ประเมินผล การปฏิบัติงาน วางแผนปฏิบัติงาน อย่างเป็นระบบ ปฏิบัติงานตามแผน อย่างมีประสิทธิภาพ

เทคนิค/ทักษะเฉพาะทาง เป็นไปตามลักษณะเฉพาะของวิชาชีพ หรือ ตามตำแหน่งหน้าที่

ข. ประเมินผลงาน/ชิ้นงาน/คุณภาพงาน -กำหนดน้ำหนักคะแนนผลงาน/คุณภาพงาน -แจงนับปริมาณงาน -กำหนดน้ำหนักคะแนนผลงาน/คุณภาพงาน