การบริหารงบค่าเสื่อม 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
การจ้างพนักงานราชการ
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
ผลเบิกจ่ายภาพรวมกรมส่งเสริมสหกรณ์ (แยกตามประเภทงบรายจ่าย) ประจำปีงบประมาณ 2557 ข้อมูล ณ วันที่ 21 เมษายน 2557 เวลา น. ที่มา : กองคลัง กลุ่มบัญชีและงบประมาณ.
ขั้นตอนการจัดหาโดยการรับบริจาคของหน่วยงานกรมประมง
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
1. กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่เวช สถิติจากทุกโรงพยาบาล 2. วิธีการพัฒนา เน้นการลงมือปฏิบัติการตรวจสอบ จากแฟ้มผู้ป่วยในจริง โดยเน้น รพ. ชะอำ.
รายละเอียดการจัดงบค่าเสื่อมฯ ปี 2557 แจ้งจัดสรรระดับ หน่วยบริการ 80%
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 “ประเด็นที่แตกต่างจากปีงบประมาณ 2556” โดย นพ.สุธนะ เสตวรรณา รองผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต.
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ระเบียบวาระ 3.3 สรุปการ.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
การส่งต่อนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 57 และ เมื่อวันที่ 18 ก.พ.58
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ระบบรายงานการใช้จ่ายงบลงทุน (ค่าเสื่อม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบค่าเสื่อม 2557 การบริหารงบค่าเสื่อม 2557

กรอบการบริหารจัดการงบค่าเสื่อม จำนวน 128.69 บาทต่อผู้มีสิทธิ เป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในส่วนที่จ่ายชดเชยค่าเสื่อมของสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ที่ใช้ในการบริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยใน และบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยให้หน่วยบริการนำไปใช้จัดหา ด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อการทดแทนส่วนขาด และซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ดังเดิม จากการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ทดแทนในเชิง function ของครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง)

กรอบแนวทางบริหารงบค่าเสื่อมปี 2557 (128.69 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม OP (55.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม IP (53.59 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม PP (20 บาทต่อผู้มีสิทธิ) หมายเหตุ (B)ไม่เกิน20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เพื่อส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดการส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ โดยแนวทางการจ่ายให้ผ่านความเห็นชอบจากคณุอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิ คำนวณตามสัดส่วนอัตราต่อผู้มีสิทธิของงบ OP-PP-IP ตามจำนวนผลบริการ IP (sum adjRW) ของหน่วยบริการ รวมงบค่าเสื่อมที่คำนวณตามสัดส่วน OP-PP-IP (100%) (A) โอนตรงหน่วยบริการไม่น้อยกว่า 80% (B) ไม่เกิน 20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด หน่วยบริการ

หน่วยบริการที่สามารถรับงบค่าเสื่อม หน่วยบริการในระบบ UC ทุกสังกัด บริการ OP PP IP บริการ IP รับงบค่าเสื่อมจาก การให้บริการ OP PP IP การให้บริการ OP PP การให้บริการ IP ยกเว้น หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะโรค บริการ OP PP

ข้อมูลที่ใช้ในการจัดสรรงบค่าเสื่อม57 สัดส่วนการแบ่ง วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ OP (55.10 บาท : ปชก.) ประชากร เดือน ต.ค.56 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ PP (20.00 บาท : ปชก.) วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP (53.59 บาท : ปชก.) Sum adj. RW 10 เดือน ของปีงบประมาณที่ผ่านมา

การจัดทำแผนและการพิจารณาอนุมัติแผนการบริหารเงินค่าเสื่อม ระดับหน่วยบริการ 80% หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่น (ยกเว้น สป.สธ.) / ภาคเอกชน การจัดทำแผนการบริหารเงินค่าเสื่อมไปยัง สปสช.เขต เพื่อรวบรวมเสนอให้ อปสข. พิจารณาอนุมัติ และ เบิกจ่ายเงินค่าเสื่อมให้หน่วยบริการต่อไป ยกเว้น สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร สามารถกำหนดแนวทางการบริหารงบประมาณภายในเขตได้ แต่อย่างน้อยต้องได้ข้อมูลและเงื่อนไขตามที่ สปสช. กำหนด โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. หน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ.จัดทำแผนการบริหารเงินค่าเสื่อมเสนอให้ คปสอ. เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ พร้อมจัดส่งรายละเอียดแผนที่ได้รับการอนุมัติให้ สสจ.รวบรวมเป็นภาพรวมระดับจังหวัด และ สสจ.สำเนาแผนภาพรวมแจ้งสปสช. เขต โดยสปสช.จะเป็นผู้โอนเงินตรงให้หน่วยบริการ ส่วนของวงเงินค่าเสื่อม เพื่อบริหารจัดการระดับประเทศ,เขต และจังหวัด ดำเนินการโดยให้ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ระดับประเทศ/เขต/จังหวัด 20%

การกำกับติดตามการดำเนินงานงบค่าเสื่อม หน่วยบริการรายงานผลการจัดซื้อ/จัดหา ผ่านทาง Website ของสปสช. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ / มีเงินเหลือจ่าย ระดับหน่วยบริการ หน่วยบริการ สป.สธ. ให้เป็นไปตามมติความเห็นชอบของ คปสอ. แล้วแจ้งกลับให้ สสจ. และ สปสช.เขต ทราบ หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่น/เอกชน ให้แจ้ง สปสช.เขต เพื่อเสนอความเห็นชอบตามมติ อปสข. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ / มีเงินเหลือจ่าย ระดับประเทศ/เขต/จังหวัด ให้เป็นไปตามมติเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง หากหน่วยบริการไม่สามารถดำเนินการได้ทันภายในปีงบประมาณ2557 ต้องขออนุมัติขยายเวลาดำเนินการต่อคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ ผู้พิจารณาอนุมัติแผนในแต่ละระดับข้างต้น โดยต้องขออนุมัติก่อนสิ้นปีงบประมาณ2557 พร้อมทั้งรายงานแผนการดำเนินการที่จะดำเนินการตามกำหนดใหม่ให้พิจารณาด้วย แต่ต้องไม่เกินปีงบประมาณ2558 หากหน่วยบริการที่ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาการดำเนินงานแล้ว และยังไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้ ให้คณะกรรมการ หรือคุณะอนุกรรมการ ผู้พิจารณาอนุมัติแผนในแต่ละระดับข้างต้น เป็นผู้พิจารณาชี้ขาดตามความเหมาะสม แล้วแจ้งกลับผู้เกี่ยวข้องแต่ละระดับทราบ เพื่อให้ สปสช.ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป