การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การประชุมมอบนโยบายด้านคุณภาพของนักเรียน
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
จัดทำโดย ด.ญ. สุรางคนา ชัยวิเศษ ม.3/1 เลขที่ 3
การค้ามนุษย์.
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 เด็ก คือ บุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติมี 23 คน รมต.พัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ เป็นประธาน.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
วัยทีน วัยใส ใส่ใจ อนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
มุ่งการมองล่วงหน้า - ดักปัญหา การลดการใช้ขยะของชุมชน การเยี่ยมบ้านเด็กของครู-อสม. การส่งเสริมและป้องกันโรค การวิจัยความต้องการประชาชน การรับฟัง-ตอบปัญหาประชาชน.
การค้ามนุษย์.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
การสร้างวินัยเชิงบวก
ส่งเสริมสัญจร.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
โครงงานเกมส์บวกเลขหรรษา
เทคนิคและวิธีการ ปฏิบัติงาน. การวางแผน การปฏิบัติงาน การวางแผน การปฏิบัติงาน ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและ สถานการณ์ กำหนดยุทธศาสตร์ และแผนการ ปฏิบัติงาน.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
แบบของบุคลิกภาพที่ไม่พึงประสงค์ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
แล้วคุณเป็นใคร ?.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
เด็กชาย นนทวัฒน์ ภูมี ( P’ นัตตี้ )
กลุ่มสาระการเรียนรู้
เด็กปลอด เด็กหญิง ปาริชาติ ด่านณรงค์ ชั้น ม. 3/1 เลขที่ 10 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน วันที่ 10 ตุลาคม 2555 ณ สำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 12 อ.เมือง จ.ยะลา

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย นายโสภณ อัชฌารัศมิ์ ผอ.สช.จ.ยะลา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา แนวทางการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน

วิกฤติพฤติกรรมเด็กในปัจจุบัน ตกเป็นทาสเกมคอมพิวเตอร์ เป็นนักซิ่งวัยใส เป็นสก๊อยวัยสาว ยกพวกตีกัน ใช้กำลังแก้ปัญหา มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น เข้าถึงสารเสพติดง่าย ขาดหลักธรรมทางศาสนา ขาดค่านิยมความเป็นไทย ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปราะบาง ติดเพื่อน ติดสื่อ ให้ความสำคัญทางวัตถุมากกว่าจิตใจ ติดการพนัน นิยมเสี่ยงโชค มั่วสุมในหอพัก บ้านเช่า บริโภคอาหารกรุปกรอบ เป็นโรคอ้วน เครียด ซึมเศร้า มองโลกแง่ร้าย ไม่สนใจปัญหาสังคม ร่วมสร้าง แต่ไม่ร่วมแก้

มาตรา 32 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546 มาตรา 32 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ เด็กเร่ร่อน หรือเด็กกำพร้า เด็กที่ถูกทอดทิ้ง หรือพลัดหลง เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ เด็กที่ผู้ปกครองมีอาชีพไม่เหมาะสม เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ เด็กพิการ เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก เด็กที่อยู่ในสภาพต้องได้รับการสงเคราะห์ตามกฎกระทรวง

มาตรา 40 เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครอง เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546 มาตรา 40 เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครอง เด็กที่ถูกทารุณกรรม เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด เด็กพึ่งได้รับการคุ้มครอง เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด ประพฤติตนไม่สมควรกับสภาพการเป็นนักเรียน ประกอบอาชีพในทางผิดกฎหมาย คบหาสมาคมกับบุคคลกลุ่มเสี่ยง อยู่ในสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม

สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง จากสภาพครอบครัว ถูกปล่อยปละละเลย ขาดความอบอุ่น จากโรงเรียน ขาดการดูแลนักเรียน ไม่คำนึงถึงความแตกต่างของเด็กแต่ละบุคคล ใช้ความรุนแรงแก้ปัญหาพฤติกรรมนักเรียน จากชุมชน/สังคม ขาดระเบียบชุมชน ต่างคนต่างอยู่ในสังคม ละเลยปัญหาเยาวชน จากเพื่อน ตามเพื่อน แคร์เพื่อน ถูกรังแก กดขี่ ข่มเหง กดดัน จากตัวเด็กเอง ขาดทักษะการคิด ควบคุมอารมณ์ไม่ได้

กำหนดความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา 2548 กฎกระทรวง กำหนดความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา 2548 ไม่หนีเรียน ไม่เล่นการพนัน ไม่พกพาอาวุธ ไม่เสพสิ่งมึนเมา ไม่ลักทรัพย์ ไม่ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ไม่ชู้สาว ไม่ค้าประเวณี

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การลงโทษนักเรียน 2548 ว่ากล่าวตักเตือน ทำทัณฑ์บน ตัดคะแนนความประพฤติ ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

องค์ประกอบในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้เต็มศักยภาพ การป้องกันและแก้ไขปัญหา การส่งต่อนักเรียน

แนวทางบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้บริหารให้ความสำคัญ พัฒนาครูและบุคลากร ดำเนินการด้านส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด ครูที่ปรึกษาให้ความร่วมมือ อบรมให้ความรู้ และทักษะ

แนวทางดำเนินการของโรงเรียน การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู และบุคลากร ครูจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน ครูดูแลเด็กในอัตราส่วนที่เหมาะสม จัดกิจกรรมโฮมรูมโดยครูประจำชั้น จัดระเบียนสะสม/ฐานข้อมูลนักเรียนให้เป็นปัจจุบัน จัดกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง คุ้มครองสิทธิเด็ก

การพัฒนาพหุปัญญาเชิงสร้างสรรค์ ด้านดนตรี ด้านร่างกาย และการเคลื่อนไหว ด้านตรรกะคณิตศาสตร์ ด้านภาษา ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านการเข้าใจตนเอง ด้านธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

บทบาทของสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด/อำเภอ การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การจัดอบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรและผู้บริหาร

ข้อเสนอแนะ การคัดกรองนักเรียน มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด จัดทำระเบียนสะสมอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน การคัดกรองนักเรียน บูรณาการการเรียนการสอนกับการจัดกิจกรรม มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด ศึกษาข้อมูลนักเรียนให้ครอบคลุม ประสานข้อมูลกับทุกฝ่าย

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย นายโสภณ อัชฌารัศมิ์ ผอ.สช.จ.ยะลา