กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2
แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด ประเด็นความคิดเห็น ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ เพื่อสนับสนุน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เห็นด้วย และไม่มีความเห็น เพิ่มเติม ความเกี่ยวเนื่องทางเศรษฐกิจ การผลิต การค้า และ การลงทุนเพื่อมูลค่าเพิ่มและการได้เปรียบในการ แข่งขันร่วมกัน ยุทธศาสตร์ของการแก้ปัญหาเร่งด่วนร่วมกันของ ประเทศ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือระหว่าง จังหวัด
การจัดจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัด (ต่อ) หนองคาย หนองบัวลำภู เลย อุดรธานี กลุ่ม 6.1 เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
การจัดจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัด (ต่อ) กาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กลุ่ม 6.2 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กลุ่ม 6.3 เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เห็นควรนำ จ.กาฬสินธุ์ ไปรวมกับกลุ่มจังหวัด 6.3 มีอุปสรรคในเรื่อง เส้นทางการเดินทาง สภาพการค้าการลงทุน มีความเชื่อมโยงกับ กลุ่ม ร้อยแก่นสารมากกว่า เห็นด้วยในการย้าย จ.กาฬสินธุ์ มาอยู่กลุ่มนี้
การจัดจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัด (ต่อ) ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรียรัมย์ สุรินทร์ กลุ่ม 7.1 ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี กลุ่ม 7.2 เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
การจัดระบบหรือกลไกการบริหารราชการ แบบกลุ่มจังหวัด
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ปัญหาข้อเสนอแนะ โครงสร้างการบริหารของ กลุ่มจังหวัดซึ่งมีรองนายกฯ เป็นประธาน และผู้ตรวจ สำนักนายกฯ เป็นฝ่ายเลขาฯ ยังไม่เหมาะสม ควรให้ผู้ตรวจมหาดไทยเป็นฝ่ายเลขาฯ เนื่องจากมีองค์กรรองรับอยู่แล้ว และให้ สภาพัฒน์ฯ เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
การบริหารงบประมาณ ปัญหาข้อเสนอแนะ ระเบียบงบประมาณไม่เอื้อให้ โยกงบประมาณของจังหวัดมา รวมกันเพื่อผลักดันโครงการ ของกลุ่มจังหวัด ควรตั้งงบกลางให้กลุ่มจังหวัดโดยเฉพาะ (ให้ กกจ. ดูแลภาพรวม : พิจารณา โครงการ,จัดลำดับความสำคัญ,....) โครงการของกลุ่มจังหวัด ควรจัดสรร งบประมาณลงมายังจังหวัดเจ้าภาพ โครงการโดยตรง ควรแก้กฎ ระเบียบ โดยให้กลุ่มจังหวัดมี สิทธิในการขอรับการจัดสรรงบประมาณ โดยตรง
การบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันภายใน กลุ่มจังหวัด ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ควรให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มาอบรมเพื่อ สร้างความเข้าใจยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด ร่วมกัน
การจัดหน่วยบริหารเชิงยุทธศาสตร์ (OSM) ใน กลุ่มจังหวัด ปัญหาข้อเสนอแนะ ขาดบุคลากรและงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ กลุ่มจังหวัด ควรมีงบประมาณเข้ามาใช้ ในการบริหารโดยตรง ควรจัดให้มีบุคลากรของ OSM โดยเฉพาะ ไม่ใช่เกลี่ย อัตราจากสำนักงานจังหวัด
การบริหารงานบุคคล ปัญหาข้อเสนอแนะ โยกย้าย ผวจ. บ่อย ทำให้ การทำงานไม่ต่อเนื่อง ไม่ควรมีการโยกย้าย ผวจ. บ่อย
ระบบสนับสนุนของหน่วยงานส่วนกลาง ข้อเสนอแนะ หน่วยงานส่วนกลาง เช่น สำนักงาน ก.พ.,สำนักงบประมาณ, กระทรวงมหาดไทย, สำนักงาน ก.พ.ร. ควรสนับสนุนบุคลากร งบประมาณ และองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการให้ กลุ่มจังหวัด ควรจัดหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในภาครัฐและ เอกชน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้การทำงาน และการประสานงาน ร่วมกัน
ข้อคิดเห็น/ข้อแนะนำอื่นๆ ในการเชิญภาคเอกชนเข้าร่วมประชุมภาครัฐควรสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าที่พัก บูรณาการการทำงาน ควรให้ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนามากขึ้นเนื่องจากปัจจุบันมีงบประมาณลงไปที่ท้องถิ่น มาก เสนอให้มีการฟื้น กรอ. เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและเอกชน เมื่อมีการจัดประชุม สัมมนาของหน่วยงานกลางเพื่อการ พัฒนาระบบราชการ/แผนงาน โครงการ แล้ว ควรแจ้งผลการ ประชุม แนวทางการดำเนินงาน รายงานความคืบหน้า รวมทั้ง กำหนดเวลา (Timeline) ที่ชัดเจน ควรกำหนดนโยบายที่ชัดเจนว่าจะมีระบบกลุ่มจังหวัด และ ระบบประเมินผลกลุ่มจังหวัด ต่อไปหรือไม่ ตัวชี้วัดกลุ่มจังหวัดและจังหวัดควรมีจำนวนที่พอเหมาะ ควรมีตัวชี้วัดเฉพาะในระดับกลุ่มจังหวัดอย่างเดียว
ข้อคิดเห็น/ข้อแนะนำอื่นๆ ควรทบทวนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด เพื่อให้สอดรับกับ แผน 10 (สภาพัฒน์ฯ ภาค ช่วยดำเนินการ) เจ้าภาพกลุ่มจังหวัดควรใช้ระบบหมุนเวียนเจ้าภาพ ผู้ว่าฯ ไม่สามารถสั่งการส่วนราชการส่วนกลางที่ ตั้งอยู่ในจังหวัด เช่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา