สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ณ โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
มุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพ ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
คุณธรรมกับการบริหารจัดการท้องถิ่น
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
การจัดการศึกษาในชุมชน
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การบริหารงานบุคคล กับคุณธรรมและจริยธรรม ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การบริหารราชการแผ่นดิน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง ณธรรม จริยธรรม คุ สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น การฝึกอบรมสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนตำบล วันจันทร์ที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเดอะแกรนด์ เอ็ม.พี.รีสอร์ท นายไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง

ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง โอบอ้อมอารี มีน้ำใจไมตรี และมีวินัย ไมตรี อินทุสุต ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง www.trang.go.th คำขวัญจังหวัดตรัง “ ชาวตรังใจกว้าง สร้างแต่ความดี ” โอบอ้อมอารี มีน้ำใจไมตรี และมีวินัย

ประเด็นการนำเสนอ หัวใจของการบริหารงานท้องถิ่น ธรรมาภิบาลในท้องถิ่น ธรรมชาติของท้องถิ่น หัวใจของการบริหารงานท้องถิ่น ธรรมาภิบาลในท้องถิ่น การสร้างธรรมาภิบาลในท้องถิ่น ธรรมะสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น 1 2 3 4 5

1 ธรรมชาติของท้องถิ่น

ท้องถิ่น นายก เลือกตั้ง สภา 1. อบจ. 2. เทศบาล 3. อบต. 4. กทม. ผู้บริหาร สภา 1. อบจ. 2. เทศบาล 3. อบต. 4. กทม. 5. เมืองพัทยา เลือกตั้ง นายก

สภาพปัญหา ความขัดแย้ง ไม่โปร่งใส ทุจริต ร้องขอ ร้องเรียน

หามาตรฐานที่เป็นบรรทัดฐานได้ยาก ท้องถิ่น ความเป็นอิสระ ธ รรมชาติของ หามาตรฐานที่เป็นบรรทัดฐานได้ยาก หลายเสียง หลายอารมณ์ หลายปาก พฤติกรรมในพื้นที่ หลายความรู้สึก หลายความคิด หลายหัวใจ การกำกับควบคุม กรอบ กฎ กฎหมาย กติกา ระเบียบ

หัวใจของการบริหารท้องถิ่น 2 หัวใจของการบริหารท้องถิ่น

หัวใจของการบริหารงานท้องถิ่น องค์ความรู้ ( Body of Knowledge ) การมีส่วนร่วม ของประชาชน ( People Participation) ธรรมาภิบาล/ การบริหารจัดการที่ดี (Good Govermance)

หลังการปฏิรูประบบราชการ ปี ๒๕๔๕ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น วใจของการบริหารงานท้องถิ่น หั หลังการปฏิรูประบบราชการ ปี ๒๕๔๕ งานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กฎหมาย ตัวชี้วัด ระเบียบ การให้รางวัลจูงใจ

คนท้องถิ่น ต้องละ...ผลประโยชน์ ประโยชน์สุขของประชาชน... งานของท้องถิ่น ประเมิน ประกวด คนท้องถิ่น ต้องละ...ผลประโยชน์ แต่ต้อง ประโยชน์สุขของประชาชน...

ธรรมาภิบาลในท้องถิ่น 3 ธรรมาภิบาลในท้องถิ่น

การบริหารการปกครองที่ดี นทุกระดับ ธ รรมาภิบาลในท้องถิ่น การบริหารการปกครองที่ดี นทุกระดับ ใ

การเลือกตั้ง ผู้เล่น ผู้แสดง ผู้มีบทบาท ธรรมาภิบาล  หลักนิติธรรม การมีส่วนร่วมทางการเมือง ประชาธิปไตยในเชิงรูปแบบ การเลือกตั้ง ผู้เล่น ผู้แสดง ผู้มีบทบาท  หลักนิติธรรม  หลักคุณธรรม  หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่า หลักความพร้อมตรวจสอบ ธรรมาภิบาล

ธรรมาภิบาล  วิชาเทพ วิชาธรรม ครรลอง ของ ธรรมาภิบาล เดินทางตรง  เดินตรงทาง  เดินตรงกลาง  เดินตัวตรง

โครงสร้างอำนาจในพื้นที่ 2 20 อ....... 7 3 1 6 4 5

บรรยากาศในท้องถิ่น.... อย่าเป็นเช่นนั้นเลย  มักต้องมีอะไรตอบแทน และแลกเปลี่ยน (ผล) ประโยชน์  ต้องการมีตำแหน่ง (อำนาจ) ได้ตำแหน่ง (อำนาจ) รักษาตำแหน่ง(อำนาจ) ให้นานที่สุด

กล้าเสี่ยงต่อการกระทำที่อาจจะ (ผิดพลาด) คลาดเคลื่อน กล้าได้ แต่กลัวเสีย

ต้องมีเหล่า เข้าก๊ก และมีพวกพ้อง  รองรับด้วยความอุปถัมภ์ และคุ้มครอง โยงไปสู่การเมือง ในระดับสูง ทั้งที่เป็นสะพาน และผู้สนับสนุน

มีการเอาชนะคะคาน และการ แก้เผ็ด แพ้ไม่เป็น ยังยึดติดกับความเป็นท้องถิ่นที่ถ่ายทอดต่อๆ กันมา โยงใยในหมู่ คณาญาติ พรรคพวก มีการเอาชนะคะคาน และการ แก้เผ็ด แพ้ไม่เป็น

พร้อมแตกแยก ขัดแย้ง ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะเกิดจากการจัดสรรแบ่งปัน หรือหากมีการแก่งแย่งชิงเด่น หรือใครแตกหมู่ออกไป

 ที่สำคัญ ปัจจัยการเงิน ยังเป็นศูนย์กลางของความเป็นไปในหลายๆเรื่อง หลายกิจกรรม หลายรูปแบบ ทั้งที่จะคิดและ ไม่ต้องคิด

ทรัพย์กับเกียรติ แลกกันได้ และมักไปคู่กัน หน้าตา ศักดิ์ศรี ตำแหน่ง อำนาจบารมี อยู่ในความหมายที่ไขว่คว้ารักษาไว้ ให้ปรากฎ

ประโยชน์แห่งตน กับประโยชน์สาธารณะ บ่อยครั้งก็ปนๆ กัน แยกไม่ออก เช่นเดียวกับการเบียดเบียน กับการตอบแทน ก็แยกไม่ออกเช่นกัน มักเข้าใจว่าเป็นเรื่องเดียวกัน

การสร้างธรรมาภิบาลในท้องถิ่น 4 การสร้างธรรมาภิบาลในท้องถิ่น

การสร้างธรรมาภิบาลให้แผ่ขยาย ซึมลึกในองค์กรท้องถิ่น ระดับล่าง....... ในฐานราก ต้องลึกถึงจิตใจ และสร้างมโนธรรมให้ปลูกฝังต่อเนื่องให้ได้ ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คารวะธรรม เมตตาธรรม สามัคคีธรรม สุจริตธรรม เที่ยงธรรม ธรรมชาติ ธรรมดา ชุดของธรรม ธรรมของ ผู้ประพฤติดี ครอบครัว บ้าน วัด โรงเรียน (บวร) สถาบันทางสังคม องค์กรที่มีการเรียนรู้ ถ่ายทอดต่อๆ กันมา

ธรรมะสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น 5 ธรรมะสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น

รรมะ หรับผู้บริหารท้องถิ่น รรมะ หรับผู้บริหารท้องถิ่น สำ ธ 2 โลกธรรม ๘ 1 หิริโอตตัปปะ ธรรมคุ้มครองโลกให้เกิดสันติสุข ธรรมประจำโลก ๘ ประการ อิฎฐารมณ์ : ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ละอายต่อการทำชั่ว เกรงกลัวต่อบาป อนิฎฐารมณ์ : เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์

รรมะ หรับผู้บริหารท้องถิ่น รรมะ หรับผู้บริหารท้องถิ่น สำ ธ 3 ฆราวาสธรรม ๔ สังคหวัตถุ ๔ 4 ทาน  การให้ ปิยวาจา  วจีไพเราะ อัตถจริยา  สงเคราะห์ผู้อื่น สมานัตตตา  วางตนพอดี สัจจะ  รักษาสัตย์ ทมะ  รู้จักข่มใจ ขันติ  อดทน อดกลั้น จาคะ  เสียสละ อิทธิบาท ๔ 5 ฉันทะ  รักงาน วิริยะ  สู้งาน จิตตะ  ใส่ใจในงาน มังสา  ทำงานด้วยปัญญา

ถามตัวเอง 1. ท่านปฏิบัติ “ ศีล ๕” ได้ครบถ้วนหรือยัง ? 1. ท่านปฏิบัติ “ ศีล ๕” ได้ครบถ้วนหรือยัง ? 2. ท่านเคยหยิบยก คำสอน คำพระ คำไทย ที่เป็นพุทธภาษิต มาเป็นคาถาประจำตัวหรือยัง ? 30

ข้อฝาก ปกป้องสถาบันสำคัญ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ และฟื้นฟูประชาธิปไตย เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และผู้มีอิทธิพล ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม โครงการไทยเข้มแข็ง บ้านสวยเมืองงาม นามเมืองตรัง ๗ ปลอด

นึกอะไรไม่ออก ยิ้มงาม ไหว้สวย พูดจาไพเราะ

สวัสดี สำนักงานจังหวัดตรัง

สำนักงานจังหวัดตรัง 38