เรื่อง “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์ และสัตว์เลี้ยง” เรื่อง “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์ และสัตว์เลี้ยง” นายสัตวแพทย์อาคม ชีวะเกรียงไกร กรรมการผู้จัดการ กลุ่มเวชภัณฑ์สัตว์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษัท ไฟเซอร์ จำกัด ประชุมวิชาการสัตวแพทยศาสตร์ มข. ครั้งที่ 11 ประจำปี 2553
แผนภูมิการบรรยาย ภาพรวมเศรษฐกิจ ข้อมูลมหภาค ประชากรศาสตร์ ข้อมูลเกี่ยวข้องกับธุรกิจ ปัจจัยการผลิต การคาดหมายการเปลี่ยนแปลง โอกาสและผลกระทบต่อวิชาชีพสัตวแพทย์และเวชภัณฑ์สัตว์ Part 1 Part 2 Part 3
SE Asia Statistics US$ Thai Phil Indo Viet Malay GDP (PPP) 540B 325B GDP (Nominal) 264B 161B 539B 92B 191B Rank 24 36 15 44 30 Per Capita (PPP) 8k 4k 3k 14k Population 63M 92M 231M 86M 28M 21 12 4 13 43 SE Asia China India GDP (PPP) 2.4T 8.7T 3.8T GDP (Nominal) 1.2T 4.9T 1.3T Population 500M 1.3B 1.1B Market Size 664M 2.9B 306M Future Markets Cambodia Myanmar Laos
Income per year $ (PPP) Japan 31,384 China 6,193 Malaysia 11,160 Singapore 28,228 India 3,262 Korea 22,543 Vietnam 2,782 Philippines 4,770 Thai 8,542 NZ 24,805 Australia 31,020 Gross national Income base of Purchasing Power Parity: Nations site
ASEAN Economic Community 2558 Key Words ASEAN Economic Community 2558 AE (AEC Blueprint) หลักเกณฑ์เดียวกัน โดยมีเป้าหมายเพื่อนำไปสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน อะไรจะเกิดขึ้น ให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า, บริการ, การลงทุน, เงินทุน และ แรงงานฝีมืออย่างเสรี ทำให้ผู้ผลิตมีทางเลือกในการใช้ปัจจัยการผลิตที่หลากหลายด้วยต้นทุนที่ต่ำลง และผู้บริโภคสามารถเลือกสรรสินค้าและบริการได้อย่างหลากหลายในภูมิภาค รวมถึงการส่งสินค้าออกไปแข่งขันขายยังตลาด AEC โดยปราศจากภาษีนำเข้า และส่งออก ขณะเดียวกันตลาดก็มี Demand ความต้องการของผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น เพราะ 10 ประเทศอาเซียนเมื่อรวมกันเป็นตลาดเดียวจะทำให้มีผู้บริโภคมากถึง 560 ล้านคน
ข้อมูลแนวโน้มสิ่งที่จะเกิดขึ้นที่น่าสนใจ สินค้าที่ซื้อขายภายในกลุ่มมีราคาถูกลงเพราะไม่ต้องเสียภาษี ต้นทุนการผลิตต่ำ ยังสามารถใช้ Supply Chain จากประเทศใน AEC ได้อีก เช่น การโยกย้ายฐานการผลิต, การว่าจ้างฝีมือแรงงานจากประเทศอื่นที่ถูกกว่า ตลาดการค้ากลับมีขนาดใหญ่มากขึ้นกว่าเดิมไม่เพียงแค่นี้ยังสามารถมีอำนาจในการต่อรองสูงขึ้นของการเปิดประตูการค้าเสรีไปสู่ตลาดเวทีการค้าโลกได้ อนาคต AEC กำลังมีแนวโน้มที่จะทำ AFTA กับกลุ่มประเทศ EU รวมถึงประเทศในอเมริกาตอนใต้ และรัสเซีย ต่างชาติย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเทศอื่นมีอยู่สูง การสร้างนวัตกรรมสินค้าให้เกิดความแตกต่าง จนสามารถมัดใจผู้บริโภค
ปัจจัยจากผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ภูมิภาคเอเชียซึ่งมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายได้รับความคาดหมายว่าจะเป็นศุนย์กลางแหล่งผลิตอาหารและผลิตสัตว์อาจ้รับผลกระบ้างจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เช่น โรคที่เกิดจากผลกระทบของอากาศร้อนและความเครียด อากาศที่แปรปรวนและคาดหมายได้ยากขึ้น การเปลี่ยนระบบการผลิตเข้าสู่ภาวะแวดล้อม การเกิดโรคระบาดใหม่ หรือเกิดซ้ำซากโดยเฉพาะโรคที่มีตัวนำที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม การปรับตัวการให้บริการทางสัตวแพทย์สู่การบูรณาการความรู้ร่วมกับทางสาธารณสุข การติดตามโมเดลของโรคที่เกิดใหม่กับประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น จึงมีความจำเป็น
ตลาดเวชภัณฑสัตว์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ข้อมูลการผลิตสัตว์เปรียบเทียบ ประเทศไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลลิปปินส์ ข้าวโพด $ 0.24 กากถั่วเหลือง $ 0.33 $ 0.39 ต้นทุนการผลิตเนื้อสุกร 1 กิโลกรัม $1.55 $ 1.5 ต้นทุนการผลิตเนื้อไก่ $ 1.18 $ 1.2 ต้นทุนยาต่อการผลิตทั้งหมด 3 % 5-6% 3-4 %
มุมมองทั่วไปที่จะเกิดกับทุกภาคธุรกิจ เพราะฉะนั้น เป็นโอกาสที่ดีของนักธุรกิจไทยที่สามารถปรับตัวรองรับกับตลาดการค้าใหม่ที่เกิดขึ้นได้ กลับกันก็อาจเกิดผลกระทบต่อการผลิตคุณภาพต่ำ ต้นทุนสูง ที่ไม่สามารถปรับตัวเองแล้วก้าวให้ทันกับการแข่งขันในโลกการค้ายุคใหม่ที่ตลาดอาเซียน (10 ประเทศ) จะรวมกันเป็นตลาดเดียว ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายไม่ว่าจะเป็นเรื่องของพฤติกรรมของผู้บริโภค, การเคลื่อนย้ายฐานการผลิต จำนวน Demand และ Supply ที่ต้อง Balance ให้ดี รวมถึงการแข่งขันต่างๆ ในโลกการค้าเสรีที่ทุกอย่างปราศจากภาษีทำให้สินค้าต่างๆ ทะลักเข้ามาขายในประเทศไทยมากขึ้นด้วย
ผลต่อธุรกิจยาสัตว์และสัตวแพทย์ ผลกระทบ แนวทาง กลุ่มธุรกิจ เชิงบวก เชิงลบ เชิงรุก / ตั้งรับ ธุรกิจยาสัตว์ โอกาสของตลาดที่ขนาดใหญ่ขึ้นและอัตราการเติบโตสูง การสร้างมาตรฐานร่วมกัน การเป็นฐานการผลิตต้นทุนต่ำ แบรนด์สินค้าและมาตรฐานการผลิตสัตว์ ธุรกิจขนาดเล็กปรับตัวลำบาก การแข่งขันจากคู่แข่งรายใหม่ กฎระเบียบ เรียนรู้การตลาดต่างประเทศ พฤติกรรมผู้บริโภค ร่วมถึงกิจกรรมการตลาด เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันระยะยาว เพิ่มการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยา กลไกราคา การบริหาร
Thank you