การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
หัวข้อ แนวคิด กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การนำไปปฏิบัติ
การทุจริต ความเก่า ล้าสมัย ประพฤติมิชอบ ของระบบ กำลังคน การบริหาร สภาพปัญหา ของระบบราชการ กำลังคน ไม่มีคุณภาพ การบริหาร แบบรวมศูนย์ อำนาจ ทุจริต ประพฤติ มิชอบ ความไม่ รับผิดชอบ ปัญหา ประสิทธิภาพ ทัศนคติ ค่านิยม แบบดั้งเดิม กฎ ระเบียบ เทคโนโลยี วิธีปฏิบัติงาน ไม่ทันสมัย ค่าตอบแทน สวัสดิการไม่เหมาะสม
ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี กระแสโลกาภิวัตน์ ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี แรงผลักดัน การปฏิรูป ระบบราชการ วิกฤต เศรษฐกิจ การเข้าสู่ สังคมเรียนรู้ ความเข้มแข็ง ของภาคเอกชน ความต้องการ มีส่วนร่วม ของประชาชน รัฐธรรมนูญ
การบริหารภาครัฐแนวใหม่ ปรับบทบาทภารกิจและ กลยุทธ์โดยให้เอกชน และชุมชนมีส่วนร่วม การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปรับวิธีการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ และเน้นผลงาน ปรับการบริหารงานให้เป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ประสิทธิภาพ โปร่งใส
องค์ประกอบหลักของการบริหารภาครัฐแนวใหม่ การประชุมของ The Commonwealth Association For Public Administration and Management (CAPAM) ปี 1994 สรุปได้ว่า NPM ประกอบด้วย 1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน 2. การลดการควบคุมจากส่วนกลาง และเพิ่มอิสระในการบริหาร ให้แก่หน่วยงาน 3. การกำหนดความต้องการ การวัดผลงาน และการให้รางวัล แก่ผลการดำเนินงาน ทั้งในระดับองค์การและระดับบุคคล
องค์ประกอบหลักของการบริหารภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) 4. การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านของบุคลากร (เช่น ระบบการ ฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทน และระบบคุณธรรม) และเทคโนโลยี (เช่นระบบข้อมูลสารสนเทศ) เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถ ทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ 5. การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องการแข่งขัน ทั้งการแข่งขัน ระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง และระหว่างหน่วยงานของรัฐ กับหน่วยงานของเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวน ตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเอง และสิ่งใดควรปล่อยให้ภาคเอกชนทำ
องค์การภาครัฐยุคคิดใหม่ทำใหม่ High Performance Organization Customer Driven มุ่งเน้นบริการประชาชน Mission-oriented มุ่งบรรลุภารกิจ Learning Organization เรียนรู้ทันโลก ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง Technology-based ใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ Empowerment & Participation มอบอำนาจและให้มีส่วนร่วม Networking Organization รูปแบบเครือข่าย Accountability to Results รับผิดชอบต่อผลงาน
หัวข้อ แนวคิด กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การนำไปปฏิบัติ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 (ต่อ) ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53)
หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ม. 6) หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ม. 6) เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น
เป้าหมายการปฏิบัติราชการ หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (ม. 6 ม.7) เป้าหมายการปฏิบัติราชการ ความผาสุขและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ประโยชน์สูงสุดของประเทศ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง แนวทางการบริหารราชการ กำหนดภารกิจตามมาตรา 7 แนวนโยบายแห่งรัฐ นโยบายรัฐบาล ปฏิบัติภารกิจโดยซึ่อสัตย์ ตรวจสอบได้ มุ่งเกิดประโยชน์สุข ออกแบบระบบอย่างรอบคอบและรับฟังประชาชน รับฟังความคิดเห็นของประชาชน รีบแก้ไขปัญหาโดยเร็ว
ม. 9 Strategic Analysis ACT PLAN Business Plan Report Results CHECK DO หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ม. 9 Strategic Analysis ACT Analysis of Results PLAN Business Plan Report Results CHECK Measures & Targets Monitor Progress Implementation DO
หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (ต่อ) ม. 16, 17 ม. 12, 13,14 ม. 19 ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์และเป้าหมาย - ข้อตกลง แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) แผนปฏิบัติ ราชการ ประจำปี ทบทวน/ เตรียมการ รัฐธรรมนูญ ประมาณการรายได้-รายจ่ายระยะปานกลาง แผนนิติบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ม. 18 ม. 15
ขั้นตอนการปฏิบัติราชการ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ (ต่อ) การคำนวณต้นทุนค่าใช้จ่าย ความคุ้มค่า ม. 21 ม. 22 การพัสดุ ม. 23 ขั้นตอนการปฏิบัติราชการ ม. 24, 25, 26
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ม. 27, 28 ม. 29 หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ม. 27, 28 ม. 29 ม. 30, 31, 32 กระจายอำนาจการตัดสินใจ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ศูนย์บริการร่วม เทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ม. 33, 34 ม. 35, 36, 42 ทบทวนบทบาทภารกิจ ปรับปรุงกฎระเบียบ ขนาดเหมาะสม แข่งขันได้ สำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา
ม. 37 มาตรฐานการให้บริการ ม. 38, 41, 42 ม. 39, 40 ม. 43, 44 หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการ ของประชาชน ม. 37 มาตรฐานการให้บริการ ม. 38, 41, 42 การตอบสนองและการดูแลแก้ไขคำร้องเรียนเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ การอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับข้อมูล สารสนเทศให้แก่ประชาชน ม. 39, 40 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ การดำเนินงานให้ประชาชนรับทราบ ม. 43, 44
หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ม. 45, 46, 47 ม. 48, 49 การจัดทำความตกลง การให้รางวัลตอบแทน การประเมินผล Output Input ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด การกำหนดเงื่อนไขและมาตรการอื่นเพิ่มเติม ม. 50 การลดความซ้ำซ้อนของการปฏิบัติ ตามเงื่อนไขและมาตรการต่างๆ ม. 51 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ม. 52 องค์การมหาชนและรัฐวิสาหกิจ ม. 53
หัวข้อ แนวคิด กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การนำไปปฏิบัติ
Strategy Implementation Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change
มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน (120%) Financial Perspective Internal Work Process Perspective มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 60% 10% มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู้ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ เป็นต้น 10% 10+30% Customer Perspective Learning & Growth Perspective
ตัวอย่าง Vision ............................................................................. Strategic Themes (Issues) Values Strategy Map (logic model) Corporate Scorecard Action Plan Perspectives Objectives Measurement Targets Initiatives Budget Financial Run the Business ประสิทธิผล Customer Serve the Customer คุณภาพ Manage resources Internal work process ประสิทธิภาพ Learning & Growth Build Capacity พัฒนาองค์กร Business Unit Scorecard Team / Individual Scorecard
องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ &ทุนความรู้ ทุนองค์กร
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ขอบคุณ